อำนวย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า អម្នោយ៑ (อมฺโนยฺ), អំនោយ៑ (อํโนยฺ), អំនោយ (อํโนย), អំម្នោយ (อํมฺโนย); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร អំណោយ (อํโณย), ภาษาลาว ອຳນວຍ (อำนวย)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อำ-นวย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | am-nuai |
ราชบัณฑิตยสภา | am-nuai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔam˧.nua̯j˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]อำนวย (คำอาการนาม การอำนวย)
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]อำนวย
- ชื่อบุคคลชายหญิง
การใช้
[แก้ไข]ชื่อนี้เป็นหนึ่งในชื่อคนไทยที่ใช้ซ้ำกันมากที่สุด[1]
อ้างอิง
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/ua̯j
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- ชื่อบุคคลภาษาไทย
- ชื่อบุคคลชายภาษาไทย
- ชื่อบุคคลหญิงภาษาไทย
- ชื่อบุคคลชายหญิงภาษาไทย