เหนื่อย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnɯəjᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩮᩬᩥ᩠᩵ᨿ (หเนอิ่ย, “สะบัดร้อนสะบัดหนาว”), ภาษาลาว ເໜື່ອຍ (เหนื่อย), ภาษาไทดำ ꪹꪘ꪿ꪥ (เหฺน่ย), ภาษาไทขาว ꪘꪷꪥꫀ, ภาษาพ่าเก ꩫုၺ် (นุญ์), ภาษาอาหม 𑜃𑜤𑜐𑜫 (นุญ์), ภาษาจ้วงแบบหนง noiq, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง nwaj
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เหฺนื่อย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nʉ̀ai |
ราชบัณฑิตยสภา | nueai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɯa̯j˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เหนื่อย (คำอาการนาม การเหนื่อย หรือ ความเหนื่อย)
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]รู้สึกอ่อนแรงลง
|
คำสืบทอด
[แก้ไข]- → เขมร: នឿយ (เนือย)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯j
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทดำ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใต้คง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโปรตุเกส
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาโปรตุเกส/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาฝรั่งเศส/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาหม
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮินดี