เหิ่ม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เหม่, เหม้, และ เหิม

ภาษาญ้อ[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ห่าม, ภาษาคำเมือง ᩉ᩵ᩣ᩠ᨾ (ห่าม), ภาษาเขิน ᩉ᩵ᩣ᩠ᨾ (ห่าม), ภาษาอีสาน เหิ่ม, ภาษาลาว ເຫີ່ມ (เหี่ม), ภาษาไทลื้อ ᦣᦱᧄᧈ (ฮ่าม), ภาษาไทใหญ่ ႁၢမ်ႇ (ห่าม), ภาษาพ่าเก ꩭံ (หํ), ภาษาอาหม 𑜑𑜪 (หํ)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

เหิ่ม

  1. ห่าม

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ห่าม, ภาษาคำเมือง ᩉ᩵ᩣ᩠ᨾ (ห่าม), ภาษาเขิน ᩉ᩵ᩣ᩠ᨾ (ห่าม), ภาษาลาว ເຫີ່ມ (เหี่ม), ภาษาญ้อ เหิ่ม, ภาษาไทลื้อ ᦣᦱᧄᧈ (ฮ่าม), ภาษาไทใหญ่ ႁၢမ်ႇ (ห่าม), ภาษาพ่าเก ꩭံ (หํ), ภาษาอาหม 𑜑𑜪 (หํ)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

เหิ่ม (คำอาการนาม ความเหิ่ม)

  1. ห่าม
  2. ธรรมดา, ปานกลาง, พื้น