ข้ามไปเนื้อหา

แม่แบบ:nod-alt

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

แม่แบบนี้แสดงรูปแบบอื่นของศัพท์คำเมืองซึ่งอาจมีการสะกดแบบอื่นหรือมีการถอดอักษรหรือถ่ายเสียงด้วยอักษรไทย แม่แบบนี้ต้องใช้ใต้หัวเรื่อง "รูปแบบอื่น"

พารามิเตอร์:

  • c (ย่อมาจาก "common") = รายการรูปแบบอื่นที่เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา เป็นรูปแบบที่พบได้ทั่วไปแต่ใช้ไม่บ่อยเท่ารูปแบบที่ใช้เป็นชื่อหน้าของศัพท์
  • ใช้ common ก็ได้
  • ns (ย่อมาจาก "nonstandard") = รายการรูปแบบอื่นที่ไม่มาตรฐานและเขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา
  • ใช้ nonstandard ก็ได้
  • l (ย่อมาจาก "tl", จาก "transliteration") = รายการรูปแบบที่ใช้อักษรไทยถอดอักษร
  • ใช้ tl หรือ transliteration ก็ได้
  • s (ย่อมาจาก "ts", จาก "transcription") = รายการรูปแบบที่ใช้อักษรไทยถ่ายเสียง
  • ใช้ ts หรือ transcription ก็ได้
  • ~ หรือ ls (ย่อมาจาก tlts, จาก "transliteration and transcription") = รายการรูปแบบที่ใช้อักษรไทยถอดอักษรและถ่ายเสียง
  • ใช้ tlts tstl หรือ sl ก็ได้
  • f หรือ fth (ย่อมาจาก "following Thai") = รายการรูปแบบที่ใช้อักษรไทยเขียนตามภาษาไทย
  • ใช้ ft หรือ followingThai ก็ได้

ถ้ามีมากกว่าหนึ่งรูปแบบควรใช้จุลภาคคั่นรูปแบบต่าง ๆ

ตัวอย่าง

[แก้ไข]
  • การใช้ c สำหรับคำว่า ᨾ᩶ᩣ (ม้า) ซึ่งมีอีกรูปแบบหนึ่งคือ ᨾᩖ᩶ᩣ (มล้า):
เข้า: {{nod-alt|c=ᨾᩖ᩶ᩣ}}
ออก:
  • การใช้ ns สำหรับคำว่า ᨷᩴ᩵ (บํ่):
เข้า: {{nod-alt|ns=ᨷ᩵}}
ออก:
  • (ไม่มาตรฐาน) ᨷ᩵ (บ่)
  • การใช้ l และ s สำหรับคำว่า ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ (ช้าง):
เข้า: {{nod-alt|l=ช้าง|s=จ๊าง}}
ออก:
  • การใช้ ~ สำหรับคำว่า ᨦ᩠ᩅᩫ (งว็):
เข้า: {{nod-alt|~=งัว}}
ออก:
  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) งัว
  • การใช้ f สำหรับคำว่า ᩈ᩶ᩣ᩠ᨦ (ส้าง):
เข้า: {{nod-alt|f=สร้าง}}
ออก:
  • การใช้จุลภาคเมื่อมีมากกว่าหนึ่งรูปแบบสำหรับคำว่า ᩁᩦ᩠ᨲ (รีต):
เข้า: {{nod-alt|s=ฮีด,ฮีต}}
ออก:

ดูเพิ่ม

[แก้ไข]
  • {{lo-alt}} – แม่แบบที่คล้ายกัน ใช้สำหรับภาษาลาว