ᦷᦠᧅ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *xrokᴰ¹ˢ, จากภาษาไทดั้งเดิม *krokᴰ, จากภาษาจีนเก่า 六 (OC *ruɡ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หก, ภาษาคำเมือง ᩉᩫ᩠ᨠ (ห็ก), ภาษาลาว ຫົກ (ห็ก), ภาษาไทดำ ꪶꪬꪀ (โหก), ภาษาไทใหญ่ ႁူၵ်း (หู๊ก), ภาษาไทใต้คง ᥞᥨᥐᥱ (โห่ก), ภาษาอาหม 𑜍𑜤𑜀𑜫 (รุก์), ภาษาปู้อี rogt, ภาษาจ้วง roek หรือ loeg, ภาษาจ้วงแบบหนง choak
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hok̚˧˥/
เลข
[แก้ไข]ᦷᦠᧅ (โหก)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่ยืมมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- เลขภาษาไทลื้อ
- เลขภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่