roek
หน้าตา
ภาษาจ้วง
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *krokᴰ, จากจีนเก่า 六 (OC *ruɡ);[1] ร่วมเชื้อสายกับไทย หก, คำเมือง ᩉᩫ᩠ᨠ (ห็ก), ลาว ຫົກ (ห็ก), ไทลื้อ ᦷᦠᧅ (โหก), ไทดำ ꪶꪬꪀ (โหก), ไทใหญ่ ႁူၵ်း (หู๊ก), ไทใต้คง ᥞᥨᥐᥱ (โห่ก), อาหม 𑜍𑜤𑜀𑜫 (รุก์), ปู้อี rogt, จ้วงแบบหนง choak
การออกเสียง
[แก้ไข]- (จ้วงมาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɣok˥/
- เลขวรรณยุกต์: roek7
- การแบ่งพยางค์: roek
- คำอ่านภาษาไทย (ประมาณ): โฆ็กตรี
เลข
[แก้ไข]roek (อักขรวิธีปี 1957–1982 rɵkหมวดหมู่:หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วงหมวดหมู่:หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/l)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
- Luo Liming, Qin Yaowu, Lu Zhenyu, Chen Fulong (editors) (2004). Zhuang–Chinese–English Dictionary / Cuengh Gun Yingh Swzdenj. Nationality Press, 1882 pp. →ISBN.