ꪎꪮꪉ
หน้าตา
ภาษาไทขาว
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sɔŋ˨˨/
เลข
[แก้ไข]ꪎꪮꪉ (transliteration needed)
อ้างอิง
[แก้ไข]- Hudak, T. J. (2008). William J. Gedney’s comparative Tai source book. Honolulu: University of Hawai'i Press.
ภาษาไทดำ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *soːŋᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 雙 (MC sraewng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สอง, ภาษาคำเมือง ᩈᩬᨦ (สอง), ภาษาลาว ສອງ (สอง), ภาษาไทลื้อ ᦉᦸᧂ (สอ̂ง), ภาษาไทใหญ่ သွင် (สอ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥩᥒᥴ (ส๋อ̂ง), ภาษาอาหม 𑜏𑜨𑜂𑜫 (สอ̂ง์), ภาษาปู้อี soongl, ภาษาจ้วง song
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [sɔŋ˨]
- การแบ่งพยางค์: ꪎꪮꪉ
- สัมผัส: -ɔŋ
เลข
[แก้ไข]ꪎꪮꪉ (สอง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทขาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาไทขาว
- เลขภาษาไทขาว
- Requests for transliteration of ภาษาไทขาว terms
- ศัพท์ภาษาไทดำที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทดำที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทดำที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทดำที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทดำที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทดำที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาไทดำ/ɔŋ
- คำหลักภาษาไทดำ
- เลขภาษาไทดำ