เอ็ด

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เอ็ด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงèt
ราชบัณฑิตยสภาet
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔet̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC 'jit); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເອັດ (เอัด), ภาษาไทใหญ่ ဢဵတ်း (เอ๊ต), ภาษาอาหม 𑜒𑜢𑜄𑜫 (อิต์), ภาษาปู้อี idt, ภาษาจ้วง it

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

เลข[แก้ไข]

เอ็ด

  1. หนึ่ง (ใช้เรียกจำนวนเลขที่มี 1 อยู่ท้าย)
    11 ว่า สิบเอ็ด
    101 ว่า ร้อยเอ็ด หรือหนึ่งร้อยเอ็ด

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

เอ็ด

  1. เอะอะ, อึกทึก

คำกริยา[แก้ไข]

เอ็ด (คำอาการนาม การเอ็ด)

  1. ทำเสียงดัง, ดุ, ดุเสียงดัง
  2. แพร่งพราย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า อย่าเอ็ดไป