ออ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: อือ, อื้อ, อ้อ, และ อ๋อ

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ออ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาo
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔɔː˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ອໍ (อํ), ภาษาจ้วงใต้ o (ออ)

คำกริยา[แก้ไข]

ออ (คำอาการนาม การออ)

  1. รวมกันเป็นกลุ่ม, คั่งกันอยู่
    คนอออยู่หน้าประตู

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า អា (อา), (); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร អា (อา); เทียบภาษาจ้วงใต้ oz, o (อ่อ, ออ), ภาษาไตนง o (ออ)

คำนาม[แก้ไข]

ออ

  1. (โบราณ) คำนำหน้าชื่อผู้ชายที่ตนพูดด้วยหรือพูดถึง
    ออมั่น
    ออคง
คำประสม[แก้ไข]

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

เลียนเสียงธรรมชาติ

คำอุทาน[แก้ไข]

ออ

  1. คำที่เปล่งออกมาแสดงว่ารู้แล้ว เข้าใจแล้ว หรือนึกได้

ภาษาเลอเวือะตะวันตก[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ออ

  1. พี่สาว