ขนำ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาปักษ์ใต้ ขนำ, เป็นไปได้ว่ารับมาจากภาษาจามตะวันตก kadauṃ
เป็นไปได้ว่าร่วมรากกับ กระท่อม (ผ่านทางภาษาเขมรเก่า ក្ទំ (กฺทํ), កទំ (กทํ, “ตั้งถิ่นฐาน; เข้ามาอาศัย”) และภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *ɡdɔɔm (“กระท่อม; ห้อง”); ซึ่งเป็นรากของภาษาเขมร ខ្ទម (ขฺทม) ด้วย)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ขะ-หฺนำ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kà-nǎm |
ราชบัณฑิตยสภา | kha-nam | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰa˨˩.nam˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ขนำ
ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่ายืมมาจากภาษาจามตะวันตก kadauṃ
คำนาม
[แก้ไข]ขนำ
- กระท่อมชั่วคราวในทุ่งนาเป็นต้น
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาปักษ์ใต้
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาปักษ์ใต้
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจามตะวันตก
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- สัมผัส:ภาษาไทย/am
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาถิ่น
- ศัพท์ภาษาปักษ์ใต้ที่ยืมมาจากภาษาจามตะวันตก
- ศัพท์ภาษาปักษ์ใต้ที่รับมาจากภาษาจามตะวันตก
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้