คดี
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า ក្តិ (กฺติ) หรือเขมรเก่าสมัยอังกอร์ គតិ (คติ), จากภาษาสันสกฤต गति (คติ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ក្តី (กฺตี), ภาษาลาว ຄະດີ (คะดี), ภาษาไทใหญ่ ၵတီႉ (กตี๎); ร่วมรากกับ คติ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | คะ-ดี | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ká-dii |
ราชบัณฑิตยสภา | kha-di | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰa˦˥.diː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]คดี
- ทาง
- คดีโลก
- คดีธรรม
- เรื่อง, มักใช้ประกอบคำศัพท์
- โบราณคดี
- วรรณคดี
- สารคดี
- (กฎหมาย) เรื่องหรือความที่ฟ้องร้องหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนวิธีพิจารณาความตามที่กฎหมายกำหนด
- คดีแพ่ง
- คดีอาญา
- คดีปกครอง
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่าสมัยอังกอร์
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่าสมัยอังกอร์
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- สัมผัส:ภาษาไทย/iː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:กฎหมาย