ชย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जय (ชย), จากภาษาบาลี ชย; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ជ័យ (ชัย) และ ជយ (ชย), ภาษาลาว ໄຊ (ไซ)
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] ชะ-ยะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chá-yá- |
ราชบัณฑิตยสภา | cha-ya- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰa˦˥.ja˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]ชย
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชอ-ยอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chɔɔ-yɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | cho-yo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɔː˧.jɔː˧/(สัมผัส) |
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ชย
- อักษรย่อของ ชัยภูมิ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]ชย ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ชย" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ชโย | ชยา |
กรรมการก (ทุติยา) | ชยํ | ชเย |
กรณการก (ตติยา) | ชเยน | ชเยหิ หรือ ชเยภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ชยสฺส หรือ ชยาย หรือ ชยตฺถํ | ชยานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ชยสฺมา หรือ ชยมฺหา หรือ ชยา | ชเยหิ หรือ ชเยภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ชยสฺส | ชยานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ชยสฺมิํ หรือ ชยมฺหิ หรือ ชเย | ชเยสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ชย | ชยา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/m
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- อักษรย่อภาษาไทย
- th:จังหวัดในไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย