อ
หน้าตา
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (พยัญชนะต้น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔ-/
- (พยัญชนะสะกด) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): (ตามทฤษฎี) [-ʔ]
ตัวอักษร
[แก้ไข]อ
- พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /ʔ/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /ʕ/, /ʡ/, /ʢ/, /∅/
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ออ | ออ-อ่าง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ɔɔ | ɔɔ-àang |
ราชบัณฑิตยสภา | o | o-ang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔɔː˧/(สัมผัส) | /ʔɔː˧.ʔaːŋ˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
ตัวอักษร
[แก้ไข]อ
- พยัญชนะตัวที่ 43 เรียกว่า อ อ่าง เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น, ใช้นำตัว ย ให้ผันอย่างอักษรกลาง ปัจจุบันมีเพียง 4 คำ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก
การใช้
[แก้ไข]- ใช้เป็นสระ ออ ก็ได้
- สามารถใช้ประกอบกับ ◌็ เป็นสระ เอาะ ที่มีตัวสะกด
- สามารถใช้ประกอบกับ ◌ื เป็นสระ อือ ที่ไม่มีตัวสะกด
- สามารถใช้ประกอบกับ เ เป็นสระ เออ เออะ ที่ไม่มีตัวสะกด
- สามารถใช้ประกอบกับ เ และ ◌ื เป็นสระ เอือ เอือะ
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (อักษรเบรลล์) ⠕ (“สระ ออ”), ⠕⠁ (“สระ เอาะ”), ⠩ (“สระ เออ”), ⠩⠁ (“สระ เออะ”), ⠟ (“สระ เอือ”), ⠟⠁ (“สระ เอือะ”)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต अ- (อ-, “ไม่”) หรือภาษาบาลี อ- (“ไม่”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] อะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | à- |
ราชบัณฑิตยสภา | a- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔa˨˩./ |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]อ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จาก น นิบาต; จากภาษาสันสกฤต अ- (อ-), จากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *n̩-
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
เขียนด้วยอักษรอื่น
อุปสรรค
[แก้ไข]อ
- ไม่
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]ข้อผิดพลาดสคริปต์: ไม่มีมอดูล "compound/templates"
หมวดหมู่:
- กล่องอักขระที่มีรูปภาพ
- บล็อก Thai
- อักขระอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาร่วมที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาร่วม
- ตัวอักษรภาษาร่วม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- ตัวอักษรภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม
- คำหลักภาษาบาลี
- อุปสรรคภาษาบาลี