จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+0E19, น
THAI CHARACTER NO NU

[U+0E18]
Thai
[U+0E1A]
ดูเพิ่ม: น., นี่, และ นี้

ภาษาร่วม[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /n/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /n̪/, เสียงนาสิกในสระ

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (รหัสมอร์ส) -.
  • (อักษรเบรลล์)
  • (ภาษามือ) N (เทียบเท่า ASL: N)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์นอนอ-หฺนู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnɔɔnɔɔ-nǔu
ราชบัณฑิตยสภาnono-nu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/nɔː˧/(สัมผัส)/nɔː˧.nuː˩˩˦/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะตัวที่ 25 เรียกว่าหนู เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ย่อมาจากภาษาบาลี นภ หรือ นภา (ฟ้า)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์นะ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิง
ราชบัณฑิตยสภาna
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/naʔ˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง
นะ

คำนาม[แก้ไข]

  1. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จากภาษาสันสกฤต ()

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

  1. ไม่

คำอนุภาค[แก้ไข]

  1. ไม่ (ซึ่งปรากฏอยู่โดด ๆ ในคำฉันท์)