หนู
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnuːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩪ (หนู), ภาษาลาว ໜູ (หนู), ภาษาไทลื้อ ᦐᦴ (หฺนู), ภาษาไทดำ ꪘꪴ (หฺนุ), ภาษาไทใหญ่ ၼူ (นู), ภาษาจ้วง nou, ภาษาแสก หนู่, ภาษาจ้วงใต้ nu
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺนู | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nǔu |
ราชบัณฑิตยสภา | nu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nuː˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]หนู (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหลายสกุลในวงศ์ Muridae ขนาดเล็ก มีฟันแทะ อยู่ทั่วไปตามบ้านเรือนและในถิ่นธรรมชาติ มีหลายชนิด เช่น หนูพุกใหญ่ (Bandicota indica) หนูท้องขาว (Rattus rattus) บางชนิดเป็นพาหะนำโรค
คำพ้องความ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง
คำสรรพนาม
[แก้ไข]หนู
- เป็นคำสำหรับเรียกเด็กว่า หนูนั่น หนูนี่ มีความหมายไปในทางเอ็นดู, เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 หรือ 2
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หนู
- เล็ก (ใช้เฉพาะพรรณไม้บางอย่างที่มีพันธุ์เล็กหรือของบางอย่างชนิดเล็ก)
- กุหลาบหนู
- แตงหนู
- หม้อหนู
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หนู (คำลักษณนาม ตั๋ว)
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨶᩪ (หนู)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/t
- อังกฤษ translations
- คำสรรพนามภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำนามภาษาคำเมืองที่ใช้คำลักษณนาม ตั๋ว
- nod:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม