หิน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หิน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǐn |
ราชบัณฑิตยสภา | hin | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hin˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *triːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩥ᩠ᨶ (หิน), ภาษาลาว ຫີນ (หีน), ภาษาไทลื้อ ᦠᦲᧃ (หีน), ภาษาไทดำ ꪬꪲꪙ (หิน), ภาษาไทใหญ่ ႁိၼ် (หิน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥤᥢᥴ (หี๋น), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜃𑜫 (ริน์), ภาษาจ้วง rin, ภาษาแสก หรี่น, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hin
คำนาม[แก้ไข]
หิน (คำลักษณนาม ก้อน)
คำประสม[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
ของแข็งที่ประกอบด้วยแร่
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หิน (คำอาการนาม ความหิน)
- (ภาษาปาก) ยากมาก
- ข้อสอบหิน
- (ภาษาปาก) เข้มงวดมาก
- ครูคนนี้หิน
- (ภาษาปาก) เหี้ยมมาก, แข็งมาก
- เขาเป็นคนใจหิน
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
หิน
คำพ้องความ[แก้ไข]
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
ยืมมาจากภาษาสันสกฤต हीन (หีน) หรือภาษาบาลี หีน
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หิน | [เสียงสมาส] หิน-นะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǐn | hǐn-ná- |
ราชบัณฑิตยสภา | hin | hin-na- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hin˩˩˦/(สัมผัส) | /hin˩˩˦.na˦˥./ |
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หิน
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hin˨˦/
คำนาม[แก้ไข]
หิน (ต้องการถอดอักษร)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/in
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ก้อน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- Requests for transliteration of ภาษาคำเมือง terms