แข็ง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *k.reːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແຂງ (แขง), ภาษาไทลื้อ ᦶᦃᧂ (แฃง), ภาษาไทดำ ꪵꪄꪉ (แฃง), ภาษาไทใหญ่ ၶႅင် (แขง), ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜂𑜫 (ขิง์), ภาษาปู้อี jeengl; เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ เกร็ง
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | แข็ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kɛ̌ng |
ราชบัณฑิตยสภา | khaeng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰɛŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
แข็ง (คำอาการนาม ความแข็ง)
- กระด้าง
- ลิ้นแข็ง
- ไม่อ่อน, ไม่นิ่ม
- เนื้อแข็ง
- ของแข็ง
- กล้า
- แดดแข็ง
- ไม่ยอมง่าย ๆ, ไม่รู้สึกสงสาร
- ใจแข็ง
- แรง
- วันแข็ง
- ชะตาแข็ง
- ว่ายาก
- เด็กคนนี้แข็ง
- นิ่งไม่ไหวติง, ไม่กระดิกกระเดี้ย
- ขาแข็ง
- ตัวแข็ง
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
แข็ง (คำอาการนาม ความแข็ง)
คำกริยา[แก้ไข]
แข็ง (คำอาการนาม การแข็ง)
- แข็งขืน[1]
- เราเป็นผู้น้อย แข็งไปก็มีแต่อันตราย
- มีค่าสูง เมื่อเทียบกับสกุลเงินอื่น (ใช้แสดงค่าเงิน)[1]
- เงินบาทตอนนี้แข็ง จะไปเที่ยวต่างประเทศก็น่าจะไปตอนนี้
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
อ้างอิง[แก้ไข]
- ↑ 1.0 1.1 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 26.