ແຂງ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kʰɛːŋᴬ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *k.reːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แข็ง, ภาษาไทลื้อ ᦶᦃᧂ (แฃง), ภาษาไทดำ ꪵꪄꪉ (แฃง), ภาษาไทขาว ꪵꪂꪉ, ภาษาไทใหญ่ ၶႅင် (แขง), ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜂𑜫 (ขิง์), ภาษาปู้อี jeengl, ภาษาแสก เถรี่ยง (“แข็ง”) และ แข้ง (“ตึง”)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [kʰɛːŋ˩(˧)]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [kʰɛːŋ˥˧˧]
- การแบ่งพยางค์: ແຂງ
- สัมผัส: -ɛːŋ
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ແຂງ • (แขง) (คำอาการนาม ຄວາມແຂງ)
คำพ้องความ
[แก้ไข]กล้า
- ກ້າ (ก้า)
มั่นคง
- ໝັ້ນຄົງ (หมั้นค็ง)
คำตรงข้าม
[แก้ไข]ไม่อ่อน
- ອ່ອນ (อ่อน)
คำกริยา
[แก้ไข]ແຂງ • (แขง) (คำอาการนาม ການແຂງ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- SEAlang library Maha Sila 1960 Lao dictionary. SEAlang Projects. http://sealang.net/dictionary/sila/
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/ɛːŋ
- คำหลักภาษาลาว
- คำคุณศัพท์ภาษาลาว
- คำกริยาภาษาลาว
- คำอกรรมกริยาภาษาลาว