แข้ง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɣeːŋᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 脛 (MC hengX|hengH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨤᩯ᩠᩵ᨦ (แฅ่ง) (ในคำ ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣᨤᩯ᩠᩵ᨦ (หน้าแฅ่ง)), ภาษาลาว ແຄ່ງ (แค่ง) หรือ ແຂ້ງ (แข้ง), ภาษาไทลื้อ ᦶᦆᧂᧈ (แฅ่ง), ภาษาไทขาว ꪵꪅꪉꫀ, ภาษาไทใหญ่ ၶႅင်ႈ (แข้ง), ภาษาไทใต้คง ᥑᥦᥒ (แฃง), ภาษาพ่าเก ၵိင် (ขิง์), ภาษาอาหม *𑜁𑜢𑜂𑜫 (*ขิง์), ภาษาจ้วง hengq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | แค็่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kɛ̂ng |
ราชบัณฑิตยสภา | khaeng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰɛŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]แข้ง
- ส่วนหน้าของขา ใต้เข่าลงไปถึงข้อเท้า
- (ภาษาปาก, สแลง, ล้าสมัย) ชายที่เป็นคู่ควง[1]
- อย่าเผลอไปจีบเธอเข้า เธอมีแข้งมาคุมทุกวัน
- (ภาษาปาก, สแลง) นักฟุตบอล
คำพ้องความ
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 26.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ล้าสมัย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:กายวิภาคศาสตร์