กล้า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กฺล้า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | glâa |
ราชบัณฑิตยสภา | kla | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /klaː˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *klaːꟲ, จากไทดั้งเดิม *klaːꟲ, จากจีนเก่า 稼 (OC *kraːs); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨠᩖ᩶ᩣ (กล้า), ลาว ກ້າ (ก้า), ไทลื้อ ᦂᦱᧉ (ก้า), ไทใหญ่ ၵႃႈ (ก้า), จ้วงแบบจั่วเจียง gyaj, จ้วง gyaj
คำนาม
[แก้ไข]กล้า
- ต้นข้าวอ่อนที่เพาะจากข้าวเปลือกสำหรับย้ายไปปลูกที่อื่น
- โดยอนุโลมเรียกพืชที่เพาะไว้สำหรับย้ายไปปลูกในที่อื่น ว่า กล้า
- กล้าพริก
- กล้ามะเขือ
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨠᩖ᩶ᩣ (กล้า), ลาว ກ້າ (ก้า), ไทลื้อ ᦂᦱᧉ (ก้า)
คำกริยา
[แก้ไข]กล้า (คำอาการนาม การกล้า หรือ ความกล้า)
- ไม่กลัว, ไม่ครั่นคร้าม
คำพ้องความ
[แก้ไข]ไม่กลัว
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ไม่กลัว
คำสืบทอด
[แก้ไข]- (ไม่กลัว): → เขมร: ក្លា (กฺลา)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]กล้า (คำอาการนาม ความกล้า)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย