ၵႃႈ
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaː˧˧˨/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ก̄า
- สัมผัส: -aː
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *klaːꟲ, จากภาษาไทดั้งเดิม *klaːꟲ, จากภาษาจีนเก่า 稼 (OC *kraːs); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย กล้า, ภาษาคำเมือง ᨠᩖ᩶ᩣ (กล้า), ภาษาลาว ກ້າ (ก้า), ภาษาไทลื้อ ᦂᦱᧉ (ก้า)
คำนาม
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า)
- กล้า (ต้นข้าวอ่อน)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 價 (MC kaeH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ค่า, ภาษาลาว ຄ່າ (ค่า), ภาษาอีสาน ค่า, ภาษาคำเมือง ᨣ᩵ᩤ (ค่า), ภาษาเขิน ᨣ᩵ᩤ (ค่า), ภาษาไทลื้อ ᦅᦱᧈ (ค่า), ภาษาไทดำ ꪁ꪿ꪱ (ก่̱า), ภาษาไทใต้คง ᥐᥣ (กา), ภาษาอาหม 𑜀𑜠 (กะ)
คำนาม
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า) (คำอาการนาม တၢင်းၵႃႈ)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า) (คำอาการนาม တၢင်းၵႃႈ)
- มีค่าเท่าที่, มากพอ ๆ กับ
- ၵိၼ်ၵႃႈၵိၼ်လႆႈ
- กินก้ากินไล้
- กินมากเท่าที่คนหนึ่งจะกินได้
- จนกระทั่ง
- ၵိၼ်ၵႃႈဢမ်ႇသဵင်ႈ
- กินก้าอั่มเส้ง
- กินจนกระทั่งไม่มีอะไรเหลือ
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำสรรพนาม
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า) (คำอาการนาม လွင်ႈၵႃႈ)
รากศัพท์ 5
[แก้ไข]คำบุพบท
[แก้ไข]ၵႃႈ • (ก้า)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/aː
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ยืมมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำนามภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำคุณศัพท์ภาษาไทใหญ่
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีตัวอย่างการใช้
- คำสรรพนามภาษาไทใหญ่
- คำกริยาภาษาไทใหญ่
- คำบุพบทภาษาไทใหญ่