ᦠᦲᧃ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hin˥/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *triːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย หิน, คำเมือง ᩉᩥ᩠ᨶ (หิน), ลาว ຫີນ (หีน), ไทใหญ่ ႁိၼ် (หิน), ไทใต้คง ᥞᥤᥢᥴ (หี๋น), อาหม 𑜍𑜢𑜃𑜫 (ริน์), จ้วง rin, แสก หรี่น
คำนาม
[แก้ไข]ᦠᦲᧃ (หีน) (อักษรไทธรรม ᩉᩥ᩠ᨶ, คำลักษณนาม ᦐᦽᧈ หรือ ᦟᦴᧅ)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʰɲelᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย เห็น, อีสาน เหง็น, ลาว ເຫງັນ (เหงัน) หรือ ເຫັນ (เหัน), เขิน ᩉᩮ᩠ᨶ (เหน), ไทดำ ꪹꪐꪸꪙ (เหฺญย̂น), ไทใหญ่ ႁဵၼ် (เหน), ไทใต้คง ᥞᥥᥢᥴ (เห๋น), อาหม 𑜑𑜢𑜃𑜫 (หิน์)
คำนาม
[แก้ไข]ᦠᦲᧃ (หีน) (อักษรไทธรรม ᩉᩥ᩠ᨶ, คำลักษณนาม ᦷᦎ)
- เห็น (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำนามภาษาไทลื้อที่ใช้คำลักษณนาม ᦐᦽᧈ
- คำนามภาษาไทลื้อที่ใช้คำลักษณนาม ᦟᦴᧅ
- คำนามภาษาไทลื้อที่ใช้คำลักษณนาม ᦷᦎ