หน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰrwɤnᴬ (“ทาง, ถนน”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาปักษ์ใต้ ฮ่น, ภาษาลาว ຫົນ (ห็น), ภาษาไทลื้อ ᦠᦳᧃ (หุน), ภาษาจ้วง roen, ภาษาจ้วงใต้ hoenq ,
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | หน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǒn |
ราชบัณฑิตยสภา | hon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hon˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
หน
- ทาง, ทิศ
- หนเหนือ
- หนใต้
- ครั้ง, คราว
- ที่, สถานที่, มักใช้เข้าคู่กับคำ แห่ง เป็น แห่งหน หรือ หนแห่ง
- ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด(นิราศอิเหนา)
- ไม่รู้ว่าเวลานี้เขาอยู่แห่งหนตำบลใด
คำลักษณนาม[แก้ไข]
หน
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
หน (อาการนาม การหน)