ทุติย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ทุติย (“ที่ 2”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] ทุ-ติ-ยะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tú-dtì-yá- |
ราชบัณฑิตยสภา | thu-ti-ya- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰu˦˥.ti˨˩.ja˦˥./ |
เลข
[แก้ไข]ทุติย
- (ภาษาหนังสือ) ที่ 2
- ทุติยดิถี
- วัน 2 ค่ำ
- ทุติยมาส
- เดือนที่ 2
- ทุติยวาร
- วันที่ 2, วาระที่ 2
- ทุติยสุรทิน
- วันที่ 2
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) dutiya
- (อักษรพราหมี) 𑀤𑀼𑀢𑀺𑀬 (ทุติย)
- (อักษรเทวนาครี) दुतिय (ทุติย)
- (อักษรเบงกอล) দুতিয (ทุติย)
- (อักษรสิงหล) දුතිය (ทุติย)
- (อักษรพม่า) ဒုတိယ (ทุติย) หรือ ၻုတိယ (ทุติย)
- (อักษรไทย) ทุติยะ
- (อักษรไทธรรม) ᨴᩩᨲᩥᨿ (ทุติย)
- (อักษรลาว) ທຸຕິຍ (ทุติย) หรือ ທຸຕິຍະ (ทุติยะ) หรือ ທຸຕິຢະ (ทุติอยะ)
- (อักษรเขมร) ទុតិយ (ทุติย)
- (อักษรจักมา)
เลข
[แก้ไข]ทุติย
- ที่สอง