นิสาท
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | นิ-สาด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ní-sàat |
ราชบัณฑิตยสภา | ni-sat | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ni˦˥.saːt̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | นิษาท |
คำนาม
[แก้ไข]นิสาท
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากสันสกฤต निषाद (นิษาท, “คนวรรณะต่ำ ซึ่งมีอาชีพพราน ชาวประมง หรือโจร”) [1]
คำนาม
[แก้ไข]นิสาท ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "นิสาท" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | นิสาโท | นิสาทา |
กรรมการก (ทุติยา) | นิสาทํ | นิสาเท |
กรณการก (ตติยา) | นิสาเทน | นิสาเทหิ หรือ นิสาเทภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | นิสาทสฺส หรือ นิสาทาย หรือ นิสาทตฺถํ | นิสาทานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | นิสาทสฺมา หรือ นิสาทมฺหา หรือ นิสาทา | นิสาเทหิ หรือ นิสาเทภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | นิสาทสฺส | นิสาทานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | นิสาทสฺมิํ หรือ นิสาทมฺหิ หรือ นิสาเท | นิสาเทสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | นิสาท | นิสาทา |
- ↑ Monier-Williams, Monier, Sir. A Sanskrit–English Dictionary: Etymologically and Philologically Arranged with Special Reference to Cognate Indo-European Languages. Oxford: Oxford University Press, 1899. Rpt., Delhi: Motilal Banarsidass Publishers Private Limited, 2005, p. 561.