โจร
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากสันสกฤต चोर (โจร) หรือบาลี โจร
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โจน | [เสียงสมาส] โจ-ระ- | [เสียงสมาส] โจน-ระ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | joon | joo-rá- | joon-rá- |
ราชบัณฑิตยสภา | chon | cho-ra- | chon-ra- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕoːn˧/(สัมผัส) | /t͡ɕoː˧.ra˦˥./ | /t͡ɕoːn˧.ra˦˥./ | |
คำพ้องเสียง | โจน โจล |
คำนาม
[แก้ไข]โจร
- ผู้ร้ายที่ลักขโมยหรือปล้นสะดมทรัพย์สินผู้อื่นเป็นต้น
- โจรแฝงตัวเป็นคนขับรถทัวร์เพื่อลักทรัพย์นักท่องเที่ยว
ลูกคำ
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โจน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | joon |
ราชบัณฑิตยสภา | chon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕoːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | โจน โจล |
คำนาม
[แก้ไข]โจร
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]โจร ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "โจร" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | โจโร | โจรา |
กรรมการก (ทุติยา) | โจรํ | โจเร |
กรณการก (ตติยา) | โจเรน | โจเรหิ หรือ โจเรภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | โจรสฺส หรือ โจราย หรือ โจรตฺถํ | โจรานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | โจรสฺมา หรือ โจรมฺหา หรือ โจรา | โจเรหิ หรือ โจเรภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | โจรสฺส | โจรานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | โจรสฺมิํ หรือ โจรมฺหิ หรือ โจเร | โจเรสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | โจร | โจรา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/oːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย