ผู้ใช้:Alifshinobi
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
| ||
| ||
|
สวัสดีครับ
เป้าหมายหลักปัจจุบัน[แก้ไข]
- เพิ่มคำลาว ไทใหญ่ และไทลื้อให้มีอย่างน้อย 10,000 คำต่อภาษา ตอนนี้จะเน้นคำใช้บ่อยก่อน โดยเฉพาะคำกริยาประสมและคำนามประสม ผมเน้นคำประสมเพราะส่วนตัวเวลาอ่านภาษาไทลื้อและไทใหญ่ ความงงมักเกิดขึ้นเพราะเข้าใจความหมายคำเดี่ยว ๆ แต่ยังงงเพราะความเดี่ยวเหล่านี้อาจเป็นส่วนหนึ่งของคำประสม ซึ่งมีความหมายที่ไม่สามารถเดาได้ เช่น คำว่า "ต้อง, ควร" (คำช่วยก่อนคำกริยา) ในไทใหญ่ คือ တေလႆႈ (เตไล้) และไทลื้อ คือ ᦈᧅᦺᦡᧉ (จักได้) ซึ่งแปลคำต่อคำเป็นไทยคือ "จะได้ (จักได้)"
วรรณยุกต์ลาว[แก้ไข]
วรรณยุกต์เวียงจันทน์[แก้ไข]
Number | Name | Chao letters | Example |
---|---|---|---|
1 | mid level | 33 | ຄ່າ |
2 | low | 1(3) | ຂາ |
3 | high | 35 | ຄາ |
4 | high-fall | 52 | ຄ້າ |
5 | mid-fall | 31 | ຂ້າ |
ຜາ 1(3) | ຜ່າ 33 | ຜ້າ 31 | ຜາກ 31 | ຜັກ 35 |
ປາ 1(3) | ປ່າ 33 | ປ້າ 52 | ປາກ 31 | ປັກ 35 |
ບາ 1(3) | ບ່າ 33 | ບ້າ 52 | ບາກ 31 | ບັກ 35 |
ພາ 35 | ພ່າ 33 | ພ້າ 52 | ພາກ 52 | ພັກ 33 |
"Tonal Alternation for Low Tone"
About the low tone (e.g., ກາ and ຂາ): "A low tone usually preserves its rising contour shape before a pause. Otherwise, the rise is not realized. This process applies before all major syntactic boundaries."
- ຫາປາ: /haa 13 paa 13/ -> [haa 11 paa13]
- ຝີມື: /fii 13 mɯɯ 35/ -> [fii 11 mɯɯ 35]
(Osatananda, 1997, p. 119)
วรรณยุกต์หลวงพระบาง[แก้ไข]
Number | Name | Example |
---|---|---|
1 | mid falling rising | ຂາ |
2 | low rising | ຄາ, ກາ |
3 | mid | ຂ່າ, ຄ່າ, ກວ່າ, ຄັກ |
4 | high-falling (glottalized) | ຂ້າ, ຂາກ, ກາກ |
5 | mid-rising (glottalized in C and DL) | ຄ້າ, ກ້າ, ຄາກ, ຂັກ, ກັກ |
Number | Name | Chao letters | Tone bars | Example |
---|---|---|---|---|
1 | high-falling-to-mid-level | 533 | ˥˧˧ | ຂາ |
2 | low rising | 12 | ˩˨ | ຄາ, ກາ |
3 | mid-falling | 32 (allotone in DS: 22) | ˧˨ (allotone in DS: ˨˨) | ຂ່າ, ຄ່າ, ກວ່າ, ຄັກ |
4 | high level-falling | 552 (allotone in DL: 332) | ˥˥˨ (allotone in DL: ˧˧˨) | ຂ້າ, ຂາກ, ກາກ |
5 | mid-rising | 34 (allotone in DL: 23) | ˧˦ (allotone in DL: ˨˧) | ຄ້າ, ກ້າ, ຄາກ, ຂັກ, ກັກ |
ຜາ 533 | ຜ່າ 32 | ຜ້າ 552 | ຜາກ /552/ [332] | ຜັກ /12/ [12] |
ປາ 12 | ປ່າ 32 | ປ້າ 34 | ປາກ /552/ [332] | ປັກ /12/ [12] |
ບາ 12 | ບ່າ 32 | ບ້າ 34 | ບາກ /552/ [332] | ບັກ /12/ [12] |
ພາ 12 | ພ່າ 32 | ພ້າ 34 | ພາກ /34/ [23] | ພັກ /32/ [22] |
Sources[แก้ไข]
- Akharawatthanakun, P. (2004). Tonal variation and change in dialects in contact: A case study of Lao. https://brill.com/view/journals/mnya/7/1/article-p56_3.xml?language=en
- Brown, J. Marvin. 1965. From Ancient Thai to Modern Dialects. Bangkok: Social Science Association Press.
- Osatananda, V. (1997). Tone in Vientiane Lao (Order No. 9801455). Available from ProQuest Dissertations & Theses Global. (304347191). https://www.proquest.com/dissertations-theses/tone-vientiane-lao/docview/304347191/se-2?accountid=10906
- Osatananda, V (2015). Lao Khrang and Luang Phrabang Lao: A comparison of tonal systems and foreign-accent rating by Luang Phrabang judges. The Journal of Lao Studies, Special Issue 2, 110-143. http://www.laostudies.org/system/files/subscription/Varisa.pdf
Notes[แก้ไข]
- You might find more research studies when you use the names of researchers in Thai. Varisa Osatananda is วริษา โอสถานนท์, and Phinnarat Akharawatthanakun is พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล.
การเรียงลำดับตัวอักษรธรรมล้านนา (collating order) ตามหลักยูนิโค้ด[แก้ไข]
ดูเพิ่มที่ https://www.unicode.org/L2/L2007/07007r-n3207r-lanna.pdf
- สระ เอีย กับ อัว (ถ้าลืมให้ใช้ "เมีย" กับ "ผัว" เป็นตัวช่วยจำ): ให้สันนิษฐานว่า ย กับ ว เป็นพยัญชนะตัวที่สองของพยัญชนะควบกล้ำ จึงต้องเรียงก่อน เ- และ ไม้กง ตามลำดับ เช่น ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย, “เสีย”) คือ ส + ย สะกด + เ- และ ᨲ᩠ᩅᩫ (ตว็, “ตัว”) คือ ต + ว สะกด + ไม้กง
- ถ้ามีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียนหลังพยัญชนะควบกล้ำ เหมือนดั่งที่ ในภาษาไทย ไม้วรรณยุกต์ต้องเขียนไว้บนพยัญชนะต้นตัวที่สองในพยัญชนะควบกล้ำทั่วไป ยกตัวอย่าง เสี้ยง กับ ม่วน เพราะ ย กับ ว ได้สันนิษฐานว่าเป็นเหมือน ร ล ว ใน ครั้ง, กล้า, กว้าง ตามลำดับ คำว่า เสี้ยง (ᩈ᩠ᨿ᩶ᨦ (สย้ง)) กับ ม่วน (ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ (มว่ร)) จึงต้องเขียน ส + ย สะกด + ไม้โท + ง และ ม + ว สะกด + ไม้เอก + ร ตามลำดับ
- สระซ้ายมือต้องมาก่อน เช่น เมือง (ᨾᩮᩬᩥᨦ (เมอิง)) เขียน ม + เ- + อ ล่าง + -ิ + ง และสระใต้พยัญชนะต้องเรียงก่อนสระข้างบน เช่น ᨤᩬᩴ (ฅอํ) คือ ฅ + อ + -ํ (ถ้าลืมให้ท่อง "ซ้าย ล่าง บน")
- สระ อำ ให้เขียน -า ก่อน -ํ เช่น ᨠᩣᩴ (กาํ) คือ ก + -า + -ํ ถ้ามีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียนบนตัวพยัญชนะก่อนเขียน -า เช่น ถ้ำ (ᨳ᩶ᩣᩴ (ถ้าํ)) กับ น้ำ (ᨶ᩶ᩣᩴ (น้าํ)) คือ ถ + ไม้โท + -า + -ํ และ น + ไม้โท + -า + -ํ ตามลำดับ
หน้าย่อย[แก้ไข]
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
ลิงก์[แก้ไข]
- ฟอนต์ Padauk - สำหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์ที่ไม่สามารถรับอักษรพม่า, ไทใหญ่, มอญ, และ กระเหรี่ยงได้
- ฟอนต์ลาวที่รับรองอักษรลาวบาลีและสันสกฤต