พรุ่ง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: พรัง และ พริ้ง

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɟm̩.rukᴰ ซึ่ง /-k/ กลายเป็น /-ŋ/; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨻᩕᩪᨠ (พรูก) หรือ ᨽᩪᨠ (ภูก), ภาษาลาว ພຸກ (พุก) (ในคำ ພຸກນີ້ (พุกนี้)), ภาษาไทลื้อ ᦘᦳᧅ (ภุก), ภาษาไทใหญ่ ၽုၵ်ႈ (ผุ้ก), ภาษาจ้วง byug (ในคำ ngoenzbyug), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง pyug

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์พฺรุ่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงprûng
ราชบัณฑิตยสภาphrung
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰruŋ˥˩/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

พรุ่ง

  1. วันถัดจากวันนี้ไปวันหนึ่ง
    ผัดวันประกันพรุ่ง
    ตายวันตายพรุ่ง

คำพ้องความ[แก้ไข]

คำสืบทอด[แก้ไข]

  • ลาว: ພຸ່ງ (พุ่ง)