ข้ามไปเนื้อหา

วิธีใช้:การแก้ไขหน้า

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

วิกิพจนานุกรม คือ วิกิ, ซึ่งหมายความว่าใคร ๆ ก็สามารถเข้ามาแก้ไขหัวข้อ ที่อนุญาตให้แก้ไขได้ง่ายๆ และสามารถแสดงส่วนที่แก้ไขนั้นได้ทันที

การแก้ไขหน้าวิกิเป็นเรื่องที่ทำได้ง่ายมาก เพียงคลิกที่ลิงก์ "แก้ไข" ตรงแถบส่วนหัวหรือส่วนท้าย (รวมถึงด้านข้าง) ของหน้าวิกิ เพื่อที่จะเข้าไปแก้ไข, ท่านก็จะเข้าสู่หน้าที่มีกรอบข้อความซึ่งสามารถแก้ไขข้อความในหน้าวิกิหน้านั้นได้ (หรืออาจจะคลิกที่ลิงก์ "พูดคุย" จากนั้นก็ "แก้ไข" เพื่อพูดคุยในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหน้านั้นๆ)

จากนั้นก็พิมพ์ข้อความลงไป อย่าลืมเขียนสรุปการแก้ไขในช่องเล็กๆ ด้านล่างด้วย จากนั้นก็กด "บันทึก" เพื่อบันทึก. นอกจากนี้คุณยังสามารถดูตัวอย่างสิ่งที่คุณแก้ไข ก่อนที่จะบันทึกได้อีกด้วย. บนระบบส่วนใหญ่ การกดเอนเทอร์ (Enter) ในขณะที่ไม่ได้อยู่ที่กรอบแก้ไข (ไม่มีเคอร์เซอร์ในนั้น) จะมีผลเช่นเดียวกับกดปุ่ม "บันทึก"

กลเม็ดในการเขียนและตรวจแก้บทความวิกิพจนานุกรม

[แก้ไข]
  • เพื่อความสะดวกในการเขียน ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์ (text editor) ใดๆ ก็ได้ตามความสะดวก เพื่อพิมพ์และแก้ไข ก่อนที่จะตัดแปะลงในหน้าแก้ไขบทความ เพื่อดูตัวอย่างการแสดงผลจริงบนเว็บเบราว์เซอร์ (preview). ข้อดีของวิธีนี้คือ ผู้ใช้จะยังมีบทความนั้นเก็บอยู่ในเครื่องของตัวเอง และสามารถจะแก้ไขเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา ถึงแม้จะไม่ได้ต่ออินเทอร์เน็ต. โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์บางตัว สามารถปรับให้เหมาะกับการพิมพ์บทความวิกิพจนานุกรมได้, โปรดดู Wikipedia:syntax highlighting.
  • ในระหว่างทำการแก้ไขบทความ ถ้าต้องการเปิดดูหน้าปัจจุบัน, โดยไม่ยกเลิกการแก้ไขที่ทำอยู่, ให้เปิดลิงก์ "ยกเลิก" ในหน้าต่างใหม่.

หลังจากสร้างหน้าใหม่แล้ว ควรทำขั้นตอนต่อไปนี้ด้วย:

  • ตรวจสอบดูหน้าที่ เชื่อมโยงมายังหน้านี้ โดยใช้ลิงก์ หัวข้ออื่นที่โยงมา เพื่อตรวจสอบดูความหมายของคำที่เชื่อมโยงมา ว่าตรงกับความหมายที่ได้ให้ไว้ในเนื้อหาของหน้านี้
  • ใช้ปุ่ม"ค้นหา" เพื่อค้นหาคำ หัวข้อ ของหน้าที่ปรากฏในหน้าบทความอื่นๆ และทำลิงก์เชื่อมโยงมายังหน้านี้ ตามความเหมาะสม
  • ตรวจสอบหน้าที่เกี่ยวข้องในวิกิพจนานุกรมภาษาอื่นๆ ที่คุณอ่านได้
  • หัวข้อบางหัวข้อ สามารถเชื่อมโยงกันได้ ด้วยแม่แบบ ที่เตรียมไว้แล้ว, โปรดดูที่ วิกิพจนานุกรม:แม่แบบเชื่อมโยงหัวข้อ

การแก้ไขเล็กน้อย

[แก้ไข]

เมื่อแก้ไขหน้า ผู้ใช้ที่ล็อกอินสามารถกำหนดได้ว่าการแก้ไขนั้น เป็น "การแก้ไขเล็กน้อย" ซึ่งมักจะเป็นการแก้คำสะกด จัดรูปแบบ หรือเรียบเรียงเนื้อหา เราสามารถซ่อนการแก้ไขเล็กน้อยเมื่อแสดง หน้าที่มีการปรับปรุงล่าสุด. การกำหนดการแก้ไขจริง ๆ ว่าเป็นการแก้ไขเล็กน้อย เป็นการกระทำที่ไม่สมควร ในที่นี้รวมถึงการลบบางส่วนของข้อความด้วย. ถ้ามีกรณีกำหนดการแก้ไขเป็นการแก้ไขเล็กน้อยโดยไม่ได้ตั้งใจ ให้แก้ไขอะไรก็ได้อีกหน่อย (เช่น การเพิ่มช่องว่างระหว่างคำ 2 คำ หรือการขึ้นบรรทัดใหม่) แล้วกำหนดเป็นการแก้ไขหลัก จากนั้นก็กรอกในช่อง 'คำอธิบายโดยย่อ' ว่า "การแก้ไขครั้งก่อนนี้ เป็นการแก้ไขหลัก"

ตกแต่งวิกิ

[แก้ไข]

ในตารางด้านล่าง, คอลัมน์ซ้าย จะแสดงผลลัพธ์ ว่าจะปรากฏอย่างไร, ส่วน คอลัมน์ขวา จะบอกว่า จะทำอย่างไรเพื่อให้ได้ผลลัพธ์อย่างนั้น. หรือพูดอีกอย่างหนึ่งคือ การจะทำข้อความให้ดูเหมือนกับที่แสดงในคอลัมน์ซ้าย ให้พิมพ์ในรูปแบบที่คุณเห็นในคอลัมน์ขวา.

คุณอาจจะเปิดหน้านี้ไว้อีกหน้าต่างหนึ่งเพื่ออ้างอิง. หากต้องการทดลองทำตาม, โดยไม่ให้เกิดความเสียหาย, สามารถลองได้ที่ วิกิพจนานุกรม:กระดาษทด

หมายเหตุ: สำหรับเนื้อหาบางหมวดหมู่ เช่น ประเทศ หรือ พรรณไม้ จะมีรูปแบบการจัดหน้ามาตรฐานอยู่ สามารถดูได้ที่ วิกิพจนานุกรม:การจัดหน้า

ตอน, ย่อหน้า, รายการ, และ เส้นแบ่ง

[แก้ไข]
ผลลัพธ์ที่ได้ สิ่งที่พิมพ์

ตอนใหม่

ตอนรอง

ตอนย่อย

  • เริ่มต้นด้วยหัวข้อระดับที่ 2 ก่อนเสมอ (==); อย่าใช้หัวข้อระดับที่ 1 (=)
  • อย่าใช้หัวข้อข้ามระดับ (เช่น ใช้หัวข้อระดับที่ 2 แล้วตามด้วยหัวข้อระดับที่ 4)
  • เมื่อบทความมีมากกว่า 4 ตอนขึ้นไป จะมีสารบัญให้โดยอัตโนมัติ

การสร้างตอน (section)


==ตอนใหม่==

===ตอนรอง===

====ตอนย่อย====

การขึ้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง ไม่มีผลต่อการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล แต่สามารถใช้สำหรับการแบ่งประโยคออกจากกันได้ ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดใหม่นี้จะช่วยในการตรวจแก้ และช่วยการทำงานของ ต่าง (ใช้เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า)

แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่

การขึ้นบรรทัดใหม่

การขึ้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง
ไม่มีผลกับการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล
สามารถใช้ในการตัดประโยคจากกันได้
ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดนี้จะช่วยในการตรวจแก้
และช่วยการทำงานของ ''ต่าง''
(ใช้เพื่อเปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า)

แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง
มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่

คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้
โดยที่ไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่

การสั่งขึ้นบรรทัดใหม่

คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้<br/>
โดยที่ไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่
  • การสร้างรายการ
    • ให้ใส่เครื่องหมาย * ด้านหน้ารายการ
    • ใช้ * มากดวงขึ้น
      • เพื่อสร้างรายการในระดับ
      • ที่ย่อยมากขึ้น
*อย่าลืมพิมพ์ให้ชิดขอบซ้าย ไม่ให้มีช่องว่างด้านหน้า

การใส่ bullet เพื่อแยกรายการ

*การสร้างรายการ
**ให้ใส่เครื่องหมาย * ด้านหน้ารายการ
**ใช้ * มากดวงขึ้น
***เพื่อสร้างรายการในระดับ
***ที่ย่อยมากขึ้น
  1. รายการชนิดตัวเลขก็ใช้ดีเช่นกัน
    1. ยิ่งจัดโครงสร้างดีๆ
    2. ยิ่งง่ายต่อการติดตาม
*รายการชนิดตัวเลข คล้ายๆ กับรายการชนิด bullet เพียงแต่เปลี่ยนเครื่องหมาย * เป็น #

การใส่เลขลำดับข้อ

# รายการชนิดตัวเลขก็ใช้ดีเช่นกัน
## ยิ่งจัดโครงสร้างดีๆ
## ยิ่งง่ายต่อการติดตาม
  • สามารถใช้ผสมกันได้
    1. และแบ่งรายการย่อยไปเรื่อยๆ
      • อย่างนี้

การใช้ bullet ผสมเลขลำดับข้อ

* สามารถใช้ผสมกันได้
*# และแบ่งรายการย่อยไปเรื่อยๆ
*#* อย่างนี้
รายการนิยามศัพท์
รายการของคำศัพท์และความหมาย
คำศัพท์
ความหมายของคำศัพท์

การแสดงหัวข้อหลักและหัวข้อย่อย

; รายการนิยามศัพท์ : รายการของคำศัพท์และความหมาย
; คำศัพท์ : ความหมายของคำศัพท์
ขึ้นต้นด้วยมหัพภาคคู่ ( : ) เพื่อร่นกั้นหน้าซ้ายของย่อหน้า

ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่

* ปกติแล้วจะใช้แสดงเนื้อหาสาระ แต่ก็มักจะใช้ในการพูดคุยในหน้าพูดคุย (Talk pages) เช่นกัน

การย่อหน้า

: ขึ้นต้นด้วยมหัพภาคคู่ เพื่อร่นกั้นหน้าซ้ายของย่อหน้า
ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่
IF บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง THEN
มันจะแสดงในรูปแบบ
เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป;
โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่;
และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย;
ENDIF
  • วิธีนี้มีประโยชน์สำหรับ:
    • คัดลอกข้อความที่มีการจัดรูปแบบไว้แล้วมาวาง
    • การอธิบายรายละเอียดของอัลกอริทึม
    • ซอร์สโค้ดของโปรแกรม
    • ascii art
    • โครงสร้างทางเคมี
  • คำเตือน: ถ้าท่านพิมพ์ข้อความยาวๆ ในบรรทัดเดียวกัน ท่านจะทำให้ทั้งหน้ากว้างมากเกินไป ทำให้อ่านได้ลำบาก และโปรดระวัง อย่าพิมพ์ข้อความทั่วไปให้มีช่องว่างอยู่ด้านหน้า
IF บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง THEN
มันจะแสดงในรูปแบบ
เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป;
โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่;
และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย;
ENDIF
วางข้อความไว้กึ่งกลาง

การวางข้อความไว้กึ่งกลาง

<center>วางข้อความไว้กึ่งกลาง</center>

เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน


และนี่อยู่ล่าง

  • มีประโยชน์มาก สำหรับแบ่งหัวข้อการพูดคุยในหน้าพูดคุย

การใช้เส้นแบ่ง

เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน
----
และนี่อยู่ล่าง

ลิงก์, URLs

[แก้ไข]
ผลลัพธ์ที่ได้ สิ่งที่พิมพ์เข้าไป

สมชายแนะนำหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

  • ตัวหนังสือตัวแรกของชื่อ ลิงก์ภาษาอังกฤษ จะถูกแปลงเป็นตัวใหญ่ โดยอัตโนมัติ
  • รูปแบบของชื่อลิงก์ จะถูกเก็บไว้โดยที่ว่างจะถูกเปลี่ยนเป็นเส้นใต้ (การพิมพ์เส้นใต้แทนที่ว่างจะให้ผลเหมือนกัน แต่เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ)
  • ดังนั้น ลิงก์ที่ด้านบนคือ "http://th.wikipedia.org/wiki/หนังสือดี_100_เล่มที่คนไทยควรอ่าน" ชี้ไปยังหน้าของหัวข้อ "หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน"

การลิงก์หัวข้อ

สมชายแนะนำ[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน]]

ไทยแบ่งเขตการบริหารออกเป็น 75 จังหวัด

  • ลิงก์ไปจุดเดียวกัน แต่ใช้ชื่ออื่น
[[ประเทศไทย|ไทย]]แบ่งเขตการบริหารออกเป็น 75 จังหวัด

ลิงก์ไปยังตอนใดตอนหนึ่งในหน้า เช่น en:List_of_cities_by_country#Morocco

(การลิงก์ไปยังตอนที่ไม่มีอยู่จริง ไม่ทำให้อะไรเสียหาย เพียงแค่จะเสมือนลิงก์ไปยังหน้านั้นตามปกติ คือจะแสดงตั้งแต่บนสุดลงมา)

การลิงก์ไปตอนใดตอนหนึ่ง

[[List_of_cities_by_country#Morocco]]

การต่อท้ายคำ ทำให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้: en:testing, en:genes

การต่อท้ายคำทำ ให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้:
[[:en:test]]ing, [[:en:gene]]s

ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ: อาณาจักร

ซ่อน namespace อัตโนมัติ: สภากาแฟ

  • เซิร์ฟเวอร์จะเติมส่วนที่อยู่หลัง | ให้เองเมื่อท่านบันทึกหน้า ครั้งต่อไปที่ท่านกลับมาแก้ไข ท่านจะเห็นส่วนที่มันขยายหลัง | การแสดงตัวอย่างก่อน จะแสดงผลลัพธ์ได้ถูกต้อง แต่จะไม่ขยายมัน

การซ่อนข้อความที่อยู่ในวงเล็บ

ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ:
[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|]]

ซ่อน namespace อัตโนมัติ:
[[วิกิพจนานุกรม:สภากาแฟ|]]

เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ ซึ่งท่านทำได้ง่ายๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน:

กำธร

หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา:

กำธร 17:03, 14 มิ.ย. 2004 (UTC)

การลงชื่อ และเวลา

เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ
ซึ่งท่านทำได้ง่ายๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน
ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน:
: ~~~
หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา:
: ~~~~

พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง คือหน้าที่ยังไม่มี

  • ท่านสามารถสร้างมันได้โดยคลิกที่ลิงก์
  • การสร้างหน้าใหม่:
    1. สร้างลิงก์ไปหามันที่หน้าใดๆ ตามสมควร
    2. บันทึกหน้านั้น
    3. คลิกที่ลิงก์ที่คุณพึ่งสร้างขึ้น เพื่อเปิดหน้าใหม่ขึ้นมาแก้ไข
  • ลองดูที่คู่มือ how to start a page และหลักการตั้งชื่อหน้าของโครงการของท่าน

การสร้างลิงก์หัวข้อใหม่

[[พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง]] คือหน้าที่ยังไม่มี
  • การเปลี่ยนทิศทางจากชื่อหน้าหนึ่ง ให้ไปยังอีกหน้าหนึ่ง สามารถทำได้โดยป้อนข้อความอย่างนี้ที่บรรทัดแรก
#REDIRECT [[ประเทศไทย]]
  • วิธีที่จะลิงก์หน้าไปยังหัวข้อเดียวกันซึ่งอยู่ในภาษาอื่น หรือวิกิอื่น ให้ดูที่ meta:MediaWiki User's Guide: Interwiki linking
[[fr:Wikipédia:Aide]]

หน้า หัวข้ออื่นที่โยงมา และ ปรับปรุงล่าสุด สามารถลิงก์ได้โดย: พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพจนานุกรม:การแก้ไขหน้า และ พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพจนานุกรม:การแก้ไขหน้า

หน้า '''หัวข้ออื่นที่โยงมา''' และ '''ปรับปรุงล่าสุด''' สามารถลิงก์ได้โดย:
[[พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพจนานุกรม:การแก้ไขหน้า]]
และ
[[พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพจนานุกรม:การแก้ไขหน้า]]

ลิงก์ภายนอก: Nupedia

ลิงก์ภายนอก:
[http://www.nupedia.com Nupedia]

หรือแค่ใส่ URL: http://www.nupedia.com

  • ใน URL สัญลักษณ์ทุกตัวต้องเป็น:
    A-Z a-z 0-9 . _ \ / ~ % - + & # ? ! = ( ) @ \x80-\xFF
  • ถ้า URL ใดมีอักษรต่างไปจากนี้จะถูกแปลง เช่น (^) จะถูกแปลงเป็น %5E (สามารถดูได้จาก ASCII)
หรือแค่ใส่ URL:
http://www.nupedia.com.

ISBN 012345678X

ISBN 0-12-345678-X

  • การลิงก์ไปยังหนังสือ ท่านสามารถใช้ลิงก์ ISBN
ISBN 012345678X

ISBN 0-12-345678-X

ใช้ลิงก์ไปยังวันที่ เพื่อที่ทุกๆ คนจะได้ตั้งค่าแสดงผลตามที่ต้องการ ใช้ พิเศษ:Preferences เพื่อเปลี่ยนค่าตั้งของการกำหนดการแสดงผลงวันที่

[[July 20]], [[1969]] , [[20 July]] [[1969]]
and [[1969]]-[[07-20]]
ทั้งหมดจะแสดงเป็น 20 July 1969 ถ้าท่านกำหนดให้แสดงผลวันที่เป็น 1 January 20001

เสียง

  • การลิงก์ไปยังไฟล์อัพโหลดที่ไม่ใช่ภาพ เช่นไฟล์เสียง หรือภาพที่แสดงเป็นลิงก์แทนที่จะแสดงบนหน้านั้นเลย ให้ใช้ลิงก์ "media"
[[media:Sg_mrob.ogg|เสียง]]

รูปภาพ

[แก้ไข]
ไฟล์:Wiki.png
ดูเพิ่มเติมที่หัวข้อ วิกิพจนานุกรม:วิธีการใส่ภาพ

ภาพหรือสื่อต่างๆที่นำมาใช้ได้ในบทความของวิกิพจนานุกรม ต้องผ่านการอัพโหลดที่หน้าอัพโหลดของวิกิพจนานุกรม หรือหน้าอัพโหลดของคอมมอนส์ โดยภาพที่ถูกอัพโหลดแล้วสามารถดูได้ที่รายการภาพหรือ ห้องภาพใหม่ของวิกิพจนานุกรมภาษาไทย หรือหน้าหลักของคอมมอนส์

วิธีการใส่ภาพ ทำได้โดย ใช้คำสั่ง [[ภาพ:__ตามด้วยชื่อภาพ__]] ตัวอย่างเช่น [[ภาพ:Wiki.png]] สำหรับการใส่ค่ารายละเอียดของภาพเช่นขนาด ตำแหน่ง หรือคำอธิบายอื่นๆ ให้ใส่หลังเครื่องหมายขีดตั้งเช่น [[ภาพ:Wiki.png|right|90px]] โดยจะแสดงผลออกมา อย่างภาพภาพโลโก้วิกิพจนานุกรมทางขวามือโดยมีความหมายว่า ให้วางชิดขวา ที่ขนาด 90 พิกเซล ดูเพิ่มเติมที่ วิกิพจนานุกรม:วิธีการใส่ภาพ

รูปแบบตัวอักษร

[แก้ไข]
ผลลัพธ์ที่ได้ สิ่งที่พิมพ์เข้าไป

Emphasize, strongly, very strongly.

  • ทั้งหมดนี้ ใช้เครื่องหมาย apostrophe หลายๆ ตัว ไม่ใช่เครื่องหมาย double quote

การแสดงการเน้นตัวอักษร

''Emphasize'', '''strongly''',
'''''very strongly'''''.

ท่านสามารถเขียน ตัวเอียง และ ตัวหนา หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์ แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์:

F = ma
  • อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างระหว่าสองวิธีนี้ ไม่ถือเป็นสาระสำคัญนัก สำหรับเว็บบราวเซอร์แบบกราฟิก และคนส่วนใหญ่ก็เลือกที่จะไม่สนใจมัน

การแสดงลักษณะของตัวอักษร

ท่านสามารถเขียน <i>ตัวเอียง</i> และ <b>ตัวหนา</b>
หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์
แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์:
:<b>F</b> = <i>m</i><b>a</b>
ฟอนต์ ตัวพิมพ์ดีด สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ

การใช้ฟอนต์สำหรับศัพท์เทคนิค

ฟอนต์ <tt>ตัวพิมพ์ดีด</tt>
สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ
ท่านสามารถใช้ ตัวอักษรขนาดเล็ก

สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ

การใช้ฟอนต์สำหรับบรรยายใต้ภาพ

ท่านสามารถใช้ <small>ตัวอักษรขนาดเล็ก</small>
สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ
ท่านสามารถ ขีดฆ่าเนื้อหาที่ลบออก

แล้ว ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่

การขีดฆ่าข้อความเดิมใช้ข้อความใหม่

ท่านสามารถ <s>ขีดฆ่าเนื้อหาที่ลบออก</s>
แล้ว <u>ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่</u>

À Á Â Ã Ä Å
Æ Ç È É Ê Ë
Ì Í Î Ï Ñ Ò
Ó Ô Õ Ö Ø Ù
Ú Û Ü ß à á
â ã ä å æ ç
è é ê ë ì í
î ï ñ ò ó ô
œ õ ö ø ù ú
û ü ÿ

ตัวอูมเลาท์ และสัญลักษณ์เน้นเสียง (เช่นที่ใช้ในสำหรับภาษาแถบยุโรป)
Umlauts and accents: (ดูที่ meta:MediaWiki User's Guide: Creating special characters)
è é ê ë ì í

è é ê ë ì í

&Agrave; &Aacute; &Acirc; &Atilde; &Auml; &Aring;
&AElig; &Ccedil; &Egrave; &Eacute; &Ecirc; &Euml;
&Igrave; &Iacute; &Icirc; &Iuml; &Ntilde; &Ograve;
&Oacute; &Ocirc; &Otilde; &Ouml; &Oslash; &Ugrave;
&Uacute; &Ucirc; &Uuml; &szlig; &agrave; &aacute;
&acirc; &atilde; &auml; &aring; &aelig; &ccedil;
&egrave; &eacute; &ecirc; &euml; &igrave; &iacute;
&icirc; &iuml; &ntilde; &ograve; &oacute; &ocirc;
&oelig; &otilde; &ouml; &oslash; &ugrave; &uacute;
&ucirc; &uuml; &yuml;

เครื่องหมายวรรคตอน:
¿ ¡ « » § ¶
† ‡ • —

&iquest; &iexcl; &laquo; &raquo; &sect; &para;
&dagger; &Dagger; &bull; &mdash;

สัญลักษณ์ทางการเงิน:
™ © ® ¢ € ¥

£ ¤
&trade; &copy; &reg; &cent; &euro; &yen;
&pound; &curren;
ตัวห้อย: x2

ตัวยก: x2 or x²

  • The latter method of superscript can't be used in the most general context, but is preferred when possible (as with units of measurement) because most browsers have an easier time formatting lines with it.

ε0 = 8.85 × 10−12 C² / J m.

1 hectare = 1 E4 m²

ตัวห้อย: x<sub>2</sub>
ตัวยก: x<sup>2</sup> or x&sup2;
&epsilon;<sub>0</sub> =
8.85 &times; 10<sup>&minus;12</sup>
C&sup2; / J m.

1 [[hectare]] = [[1 E4 m²]]
ตัวอักษรกรีก:

α β γ δ ε ζ
η θ ι κ λ μ ν
ξ ο π ρ σ ς
τ υ φ χ ψ ω
Γ Δ Θ Λ Ξ Π
Σ Φ Ψ Ω

&alpha; &beta; &gamma; &delta; &epsilon; &zeta;
&eta; &theta; &iota; &kappa; &lambda; &mu; &nu;
&xi; &omicron; &pi; &rho;  &sigma; &sigmaf;
&tau; &upsilon; &phi; &chi; &psi; &omega;
&Gamma; &Delta; &Theta; &Lambda; &Xi; &Pi;
&Sigma; &Phi; &Psi; &Omega;

สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์:
∫ ∑ ∏ √ − ± ∞
≈ ∝ ≡ ≠ ≤ ≥ →
× · ÷ ∂ ′ ″
∇ ‰ ° ∴ ℵ ø
∈ ∉ ∩ ∪ ⊂ ⊃ ⊆ ⊇
¬ ∧ ∨ ∃ ∀ ⇒ ⇔
→ ↔

&int; &sum; &prod; &radic; &minus; &plusmn; &infin;
&asymp; &prop; &equiv; &ne; &le; &ge; &rarr;
&times; &middot; &divide; &part; &prime; &Prime;
&nabla; &permil; &deg; &there4; &alefsym; &oslash;
&isin; &notin; &cap; &cup; &sub; &sup; &sube; &supe;
&not; &and; &or; &exist; &forall; &rArr; &hArr;
&rarr; &harr;
x2   ≥   0 true.
  • การเว้นระยะห่างมากกว่า 1 เคาะ ให้ใช้ตัวเว้นแบบไม่แบ่ง (non-breaking spaces) - &nbsp;
  • นอกจากนี้ &nbsp; ยังป้องกันมิให้บรรทัดตรงกลางข้อความถูกแบ่งอีกด้วย ซึ่งเหมาะกับการใช้ในสูตรคณิตศาสตร์
<i>x</i><sup>2</sup>&nbsp;&nbsp;&ge;&nbsp;&nbsp;0 true.

สูตรคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อน:
  

<math>\sum_{n=0}^\infty \frac{x^n}{n!}</math>

การเว้นมิให้แปลงตัวตกแต่ง:
Link → (<i>to</i>) the [[FAQ]]

  • ใช้เพื่อแสดงข้อมูลดิบจริงๆ ซึ่งไม่ต้องการให้ถูกแปลความหมายเป็นอื่น
  • แสดงตัวตกแต่งวิกิทั้งหมด รวมทั้งแท็ก HTML ด้วย แทนที่จะให้มันถูกใช้ในการตกแต่ง
  • Does show special characters, and not the HTML character codes.
<nowiki>Link &rarr; (<i>to</i>)
the [[FAQ]]</nowiki>

ใส่บันทึกหมายเหตุในซอร์สของหน้า:
ซึ่งจะไม่แสดงในหน้านี้

  • ใช้เพื่อทิ้งบันทึกหมายเหตุเอาไว้ในหน้า เผื่อไว้ช่วยในการตรวจแก้ในอนาคต
<!-- ใส่บันทึกหมายเหตุที่นี่ -->

ตารางแบบ HTML

[แก้ไข]

ตารางแบบ HTML สามารถนำมาใช้ได้เป็นอย่างดี ท่านสามารถดูวิธีการใช้ และพูดคุยเกี่ยวกับการทำตารางได้ที่ Using tables.

ตัวแปร

[แก้ไข]
รหัส ผลลัพธ์ที่ได้
{{CURRENTMONTH}} 10
{{CURRENTMONTHNAME}} ตุลาคม
{{CURRENTMONTHNAMEGEN}} ตุลาคม
{{CURRENTDAY}} 8
{{CURRENTDAYNAME}} วันอังคาร
{{CURRENTWEEK}} 41
{{CURRENTYEAR}} 2024
{{CURRENTTIME}} 18:44
{{NUMBEROFARTICLES}} 451,800
{{PAGENAME}} การแก้ไขหน้า
{{NAMESPACE}} วิธีใช้
{{REVISIONID}} -
{{localurl:pagename}} /wiki/pagename
{{localurl:วิกิพจนานุกรม:กระบะทราย|action=edit}} /w/index.php?title=%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1:%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2&action=edit
{{SERVER}} //th.wiktionary.org
{{ns:1}} พูดคุย
{{ns:2}} ผู้ใช้
{{ns:3}} คุยกับผู้ใช้
{{ns:4}} วิกิพจนานุกรม
{{ns:5}} คุยเรื่องวิกิพจนานุกรม
{{ns:6}} ไฟล์
{{ns:7}} คุยเรื่องไฟล์
{{ns:8}} มีเดียวิกิ
{{ns:9}} คุยเรื่องมีเดียวิกิ
{{ns:10}} แม่แบบ
{{ns:11}} คุยเรื่องแม่แบบ
{{ns:12}} วิธีใช้
{{ns:13}} คุยเรื่องวิธีใช้
{{ns:14}} หมวดหมู่
{{ns:15}} คุยเรื่องหมวดหมู่
{{SITENAME}} Wiktionary

หน้าที่ถูกป้องกัน

[แก้ไข]

ในบางกรณีลิงก์ที่เคยแสดงว่า "แก้ไขหน้านี้" กลับถูกแสดงแทนด้วยคำว่า "หน้าถูกป้องกัน" (หรืออื่นๆ ที่เทียบเท่ากันในภาษาของโครงการนั้นๆ) ในกรณีนี้หน้านั้นจะแก้ไขมิได้

การแยกส่วนกันตรวจแก้

[แก้ไข]

การย้ายหรือคัดลอกส่วนของข้อความในหน้าเดียวกัน หรือจากหน้าอื่น และจะแก้ไขส่วนอื่นๆ ด้วย จะเป็นการดีกว่าถ้าแยกการแก้อย่างนี้เป็น 2 หน เพราะจะทำให้การตรวจความแตกต่างเกิดประโยชน์ที่สุด สำหรับการตรวจสอบการตรวจแก้อื่นๆ

หัวข้อที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม

[แก้ไข]

หากคุณพบเห็นหน้าที่ไม่เหมาะสม และต้องการแจ้งลบ ให้ใส่คำว่า {{ลบ}} ที่หน้านั้น. หน้านั้นจะถูกเพิ่มเข้าไปในรายการหน้าที่ถูกแจ้งลบ โดยทันที

สำหรับผู้ใช้เว็บเบราว์เซอร์ Safari

[แก้ไข]

ถ้าท่านใช้เว็บเบราว์เซอร์ซาฟารี (Safari) บน Mac OS X ท่านจะพบว่า การที่เบราว์เซอร์กำหนดให้เวลาการโหลด หรืออัพโหลดหน้า ใช้เวลาได้ไม่เกิน 60 วินาทีนั้น สั้นเกินไป ที่ท่านจะส่งการแก้ไขของท่านได้ โดยเฉพาะเมื่อเซิร์ฟเวอร์กำลังรับการโหลดหนักๆ การคลิกที่ "บันทึก" อีกที จะเป็นการแก้ไขซ้ำ ซึ่งจะเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ถ้าเป็นการแก้ไขเฉพาะส่วน (section) ปัญหานี้ท่านสามารถแก้ได้โดยติดตั้ง SafariNoTimeout ซึ่งเป็นส่วนขยายฟรี ที่ช่วยเพิ่มเวลาจาก 60 วินาทีเป็น 10 นาทีได้

ดูเพิ่มเติมที่

[แก้ไข]