หม้าย
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmaːjꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (หม้าย), ภาษาลาว ໝ້າຍ (หม้าย), ภาษาไทลื้อ ᦖᦻᧉ (หฺม้าย), ภาษาไทใหญ่ မၢႆႈ (ม้าย), ภาษาอาหม 𑜉𑜩 (มย์)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ม่าย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mâai |
ราชบัณฑิตยสภา | mai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /maːj˥˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หม้าย
- อีกรูปหนึ่งของ ม่าย
คำนาม[แก้ไข]
หม้าย
- อีกรูปหนึ่งของ ม่าย
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /maːj˦˦ʔ/
คำนาม[แก้ไข]
หม้าย
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (หม้าย)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย