อ้น
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ອົ້ນ (อ็้น), ภาษาคำเมือง ᩋᩫ᩠᩶ᨶ (อ็้น), ภาษาเขิน ᩋᩫ᩠᩶ᨶ (อ็้น), ภาษาไทลื้อ ᦀᦳᧃᧉ (อุ้น), ภาษาไทใหญ่ ဢူၼ်ႈ (อู้น), ภาษาจ้วง oenj (อ้น), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง unj (อุ้น)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อ้น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ôn |
ราชบัณฑิตยสภา | on | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔon˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อ้น (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Rhizomyidae ลำตัวกลมอ้วนป้อมสีนํ้าตาล ตาและหูเล็กมาก ฟันแทะมีขนาดใหญ่เห็นได้ชัด ขาและหางสั้น อาศัยอยู่ใต้ดินหรือโพรงไม้ กินรากไม้ หน่อไผ่ พืช และผลไม้ ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ อ้นใหญ่ [ Rhizomys sumatrensis (Raffles)] อ้นกลาง [ R. pruinosus Blyth (Hodgson)] และอ้นเล็ก [ Cannomys badius Blyth (Hodgson)]
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/on
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาพม่า
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+