อิน

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์อิน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงin
ราชบัณฑิตยสภาin
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔin˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

อิน

  1. ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง ลูกกลมแป้นกลางบุ๋ม ไม่มีเมล็ด เรียกว่า ลูกจันอิน

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ in

คำกริยา[แก้ไข]

อิน (คำอาการนาม การอิน หรือ ความอิน)

  1. (ภาษาปาก) เข้าถึงอารมณ์อย่างแท้จริง
    ดาราคนนี้อินกับบทบาทมาก ผู้กำกับสั่งคัตแล้วยังร้องไห้อยู่
  2. (ภาษาปาก) มีอารมณ์อ่อนไหวตาม
    คนใช้ที่บ้านดูละครแล้วอิน ร้องไห้ตามนางเอกไปด้วย

ภาษามอญแบบไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี อินฺท, จากภาษาสันสกฤต इन्द्र (อินฺทฺร)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

อิน

  1. พระอินทร์

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พวน รามัญวงศ์ (2005) พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม [Mon-Thai (Siamese) Dictionary], กรุงเทพฯ: มติชน, →ISBN