กลาง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: กล๋าง

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *klaːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩣ᩠ᨦ (กลาง), ภาษาลาว ກາງ (กาง), ภาษาไทลื้อ ᦂᦱᧂ (กาง), ภาษาไทใหญ่ ၵၢင် (กาง), ภาษาไทขาว ꪀꪱꪉ, ภาษาอาหม 𑜀𑜂𑜫 (กง์) หรือ 𑜀𑜝𑜂𑜫 (กฺลง์)ภาษาปักษ์ใต้ กล๋าง, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gyang, ภาษาจ้วง gyang

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์กฺลาง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงglaang
ราชบัณฑิตยสภาklang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/klaːŋ˧/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

กลาง

  1. ส่วนที่ไม่ค่อนไปข้างใดข้างหนึ่ง
  2. ที่รวม, ที่รวมกิจการงานที่มีสาขาย่อยออกไป
    สำนักงานกลาง
    ไปรษณีย์กลาง

คำบุพบท[แก้ไข]

กลาง

  1. ในที่หรือเวลาระหว่าง
    กลางป่า
    กลางฝน
    กลางทาง

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

คำสลับอักษร[แก้ไข]