ฮ้อง
หน้าตา
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hɔːŋ˦˥/
คำกริยา
[แก้ไข]ฮ้อง (คำอาการนาม ก๋ารฮ้อง หรือ ก๋านฮ้อง)
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *rɔːŋꟲ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ร้อง, ภาษาคำเมือง ᩁᩬ᩶ᨦ (รอ้ง), ภาษาลาว ຮ້ອງ (ฮ้อง), ภาษาไทลื้อ ᦣᦸᧂᧉ (ฮ้อ̂ง), ภาษาไทดำ ꪭ꫁ꪮꪉ (ฮ้อง), ภาษาไทใหญ่ ႁွင်ႉ (ห๎อ̂ง), ภาษาพ่าเก ꩭွင် (หอ̂ง์), ภาษาอาหม 𑜍𑜨𑜂𑜫 (รอ̂ง์), ภาษาจ้วง rongx
การออกเสียง
[แก้ไข]- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hɔːŋ˨˧˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ฮ่องกลาง-ตก (ประมาณ)
คำกริยา
[แก้ไข]ฮ้อง (คำอาการนาม การฮ้อง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- ศัพท์ภาษาอีสานที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน