เหมือน

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເໝືອນ (เหมือน), ภาษาอีสาน เหมือน หรือ เหมียน, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩮᩬᩥᩁ (หเมอิร), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩮᩨᩁ (หเมืร), ภาษาไทลื้อ ᦵᦖᦲᧃ (เหฺมีน), ภาษาไทใหญ่ မိူၼ် (เมิน), ภาษาไทใต้คง ᥛᥫᥢᥴ (เม๋อ̂น), ภาษาอาหม 𑜉𑜢𑜤𑜃𑜫 (มึน์)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เหฺมือน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmʉ̌ʉan
ราชบัณฑิตยสภาmuean
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɯa̯n˩˩˦/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

เหมือน (คำอาการนาม ความเหมือน)

  1. มีลักษณะเดียวกัน

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

คำสันธาน[แก้ไข]

เหมือน

  1. ดั่ง, เช่น, ดั่งเช่น, อย่าง
    เขาทำได้เหมือนใจฉันเลย

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

เหมือน (คำอาการนาม กำเหมือน or ความเหมือน)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾᩮᩬᩥᩁ (หเมอิร)

คำบุพบท[แก้ไข]

เหมือน

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾᩮᩬᩥᩁ (หเมอิร)

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เหมือน, ภาษาลาว ເໝືອນ (เหมือน), ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩮᩬᩥᩁ (หเมอิร), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩮᩨᩁ (หเมืร), ภาษาไทลื้อ ᦵᦖᦲᧃ (เหฺมีน), ภาษาไทใหญ่ မိူၼ် (เมิน), ภาษาไทใต้คง ᥛᥫᥢᥴ (เม๋อ̂น), ภาษาอาหม 𑜉𑜢𑜤𑜃𑜫 (มึน์)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

เหมือน (คำอาการนาม ความเหมือน)

  1. เหมือน

คำบุพบท[แก้ไข]

เหมือน

  1. เหมือน