မိူၼ်
หน้าตา
ดูเพิ่ม: မန်, မိုၼ်း, မိုၼ်ႇ, မိုၼ်ႉ, မိုꩫ်, မိၼ်, မီန, မီꩫ်ႈ, မုနိ, မုၼ်, မုၼ်ႈ, မူၼ်, မူၼ်း, မူၼ်ႇ, မူၼ်ႈ, မဵၼ်, မဵၼ်း, မဵၼ်ႈ, မၼ်း, မၼ်ႈ, မႅၼ်ႈ, မꩫ်း, และ မꩫ်ႈ
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /mɤn˨˦/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺม๋+เ-ิน
- สัมผัส: -ɤn
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เหมือน, ภาษาลาว ເໝືອນ (เหมือน), ภาษาอีสาน เหมือน หรือ เหมียน, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩮᩬᩥᩁ (หเมอิร), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩮᩨᩁ (หเมืร), ภาษาไทลื้อ ᦵᦖᦲᧃ (เหฺมีน), ภาษาไทใต้คง ᥛᥫᥢᥴ (เม๋อ̂น), ภาษาอาหม 𑜉𑜢𑜤𑜃𑜫 (มึน์)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]မိူၼ် • (เมิน) (คำอาการนาม တၢင်းမိူၼ်)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]မိူၼ် • (เมิน) (คำอาการนาม တၢင်းမိူၼ်)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เบือน, ภาษาลาว ເບືອນ (เบือน), ภาษาอีสาน เบือน, ภาษาเขิน ᨷᩮᩨ᩠ᨶ (เบืน), ภาษาไทลื้อ ᦵᦢᦲᧃ (เบีน), ภาษาไทใต้คง ᥛᥫᥢ (เมอ̂น), ภาษาอาหม 𑜈𑜢𑜤𑜃𑜫 (บึน์)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]မိူၼ် • (เมิน) (คำอาการนาม တၢင်းမိူၼ်)