မုၼ်
หน้าตา
ดูเพิ่ม: မန်, မိုၼ်း, မိုၼ်ႇ, မိုၼ်ႉ, မိုꩫ်, မိူၼ်, မိၼ်, မီန, မီꩫ်ႈ, မုနိ, မုၼ်ႈ, မူၼ်, မူၼ်း, မူၼ်ႇ, မူၼ်ႈ, မဵၼ်, မဵၼ်း, မဵၼ်ႈ, မၼ်း, မၼ်ႈ, မႅၼ်ႈ, မꩫ်း, และ မꩫ်ႈ
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /mun˨˦/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺมุ๋น
- สัมผัส: -un
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓɯnᴬ (“ฟ้า, สวรรค์”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บน, ภาษาลาว ບົນ (บ็น), ภาษาอีสาน บน, ภาษาคำเมือง ᨷᩫ᩠ᨶ (บ็น), ภาษาเขิน ᨷᩫ᩠ᨶ (บ็น), ภาษาไทลื้อ ᦥᦳᧃ (บุ̱น) หรือ ᦢᦳᧃ (บุน), ภาษาจ้วง mbwn, ภาษาปู้อี mbenl, ภาษาแสก บึ๋น; ร่วมรากกับ ဝုၼ် (วุน) မူၼ် (มูน) และဝူၼ် (วูน)
คำนาม
[แก้ไข]မုၼ် • (มุน)
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]မုၼ် • (มุน)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ปุญฺญ; เทียบภาษาสันสกฤต पुण्य (ปุณฺย); ร่วมรากกับ ဝုၼ် (วุน)
คำนาม
[แก้ไข]မုၼ် • (มุน)
การใช้
[แก้ไข]ถ้าหมายถึง เกียรติ อาจใช้ประกอบคำว่า ၽုင်း (ผุ๊ง) เป็น မုၼ်ၽုင်း (มุนผุ๊ง)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ร่วมรากกับ မွၼ် (มอ̂น)
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- สัมผัส:ภาษาไทใหญ่/un
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาไทใหญ่
- คำนามภาษาไทใหญ่
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทใหญ่ที่รับมาจากภาษาบาลี
- คำกริยาภาษาไทใหญ่
- คำสกรรมกริยาภาษาไทใหญ่