เหียก

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เหียก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhìiak
ราชบัณฑิตยสภาhiak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hia̯k̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

เป็นไปได้ว่าแผลงมาจาก เหี้ย

คำกริยา[แก้ไข]

เหียก

  1. (ภาษาปาก, สแลง) ขี้เหร่
    หมอนี่เหียกจริง ๆ ไม่หล่อแล้วยังดำ แถมเตี้ยอีกต่างหาก

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

เหียก

  1. (ภาษาปาก, สแลง) ขี้เหร่
    ตาคนนั้นหน้าเหียกมาก ไม่อยากมองเลย

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨿᨠ (หยก), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨿᨠ (หยก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦠᧅᧈ (เห่ก, เหล็กวิลาด), ภาษาไทดำ ꪬꪸꪀ (หย̂ก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႇ (เห่ก), ภาษาไทใต้คง ᥞᥥᥐᥱ (เห่ก), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์, ตะกั่ว), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง reek (เหรก-ดีบุก)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

เหียก

  1. (โบราณ) ดีบุก
    พิมรูบพระดวยหยกดวยดินได(หมี)นพนนรอยแปดอนน
    พิมพ์รูปพระด้วยเหียกด้วยดินได้หมื่นพันร้อยแปดอัน
    (จารึกวัดบางสนุก)