หยก

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: หยัก, หยิก, และ หยูก

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC ngjowk); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຢົກ (อย็ก), ภาษาเขมร យក់ (ยก̍), ภาษาชวา giok, ภาษาอินโดนีเซีย giok

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์หฺยก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyòk
ราชบัณฑิตยสภาyok
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jok̚˨˩/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

หยก

  1. หินแก้วมีลักษณะแข็งเป็นสีต่าง ๆ ใช้ทำเครื่องประดับและเครื่องใช้เป็นต้น ถือว่าเป็นของมีราคา

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์หฺยก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyòk
ราชบัณฑิตยสภาyok
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jok̚˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

หยก

  1. (ล้าสมัย) ยกขึ้นลงค่อย ๆ
    หยกเบ็ด

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เหียก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhìiak
ราชบัณฑิตยสภาhiak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hia̯k̚˨˩/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

หยก

  1. รูปที่เลิกใช้ของ เหียก