ອົດ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʔɤtᴰ; ร่วมรากกับ ອຶດ (อึด); ร่วมเชื้อสายกับไทย อด หรือ อึด, อีสาน อด หรือ อึด, คำเมือง ᩋᩫ᩠ᨯ (อ็ด) หรือ ᩋᩧ᩠ᨷ (อึบ), เขิน ᩋᩫ᩠ᨯ (อ็ด) หรือ ᩋᩧ᩠ᨷ (อึบ), ไทลื้อ ᦷᦀᧆ (โอด) หรือ ᦀᦹᧇ (อืบ), ไทดำ ꪮꪳꪒ (อึด), ไทขาว ꪮꪳꪒ, ไทใหญ่ ဢိုပ်း (อึ๊ป), ไทใต้คง ᥟᥪᥙᥴ (อื๋ป), อาหม 𑜒𑜢𑜤𑜆𑜫 (อึป์); เทียบเขมร អត់ (อต̍)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ʔot̚˧˥]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ʔot̚˩˨]
- การแบ่งพยางค์: ອົດ
- สัมผัส: -ot̚
คำกริยา
[แก้ไข]ອົດ • (อ็ด) (คำอาการนาม ການອົດ)
การใช้
[แก้ไข]ถ้าหมายถึง ไม่มีกิน นิยมใช้ ອຶດ (อึด)
คำพ้องความ
[แก้ไข]อดกลั้น, งดเว้น
อ้างอิง
[แก้ไข]- SEAlang library Lao lexicography. SEAlang Projects. http://sealang.net/lao/dictionary.htm
- ວີຣະວົງສ໌, ມ. (ພ.ສ. 2503). ວັຈນານຸກົມພາສາລາວຂອງຄນະກັມມະການວັນນະຄະດີ. ວຽງຈັນ: ກອງແບບຮຽນແຫ່ງກະຊວງສຶກສາ.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่ร่วมราก
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/m
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/ot̚
- คำหลักภาษาลาว
- คำกริยาภาษาลาว
- คำอกรรมกริยาภาษาลาว
- คำสกรรมกริยาภาษาลาว
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีตัวอย่างการใช้