မူၺ်
หน้าตา
ภาษาไทใหญ่
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /moj˨˦/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺม๋+โ-ย
- สัมผัส: -oj
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับอีสาน เหมือย, ลาว ເໝືອຍ (เหมือย) หรือ ເໝີຍ (เหมีย), คำเมือง ᩉ᩠ᨾᩮᩥ᩠ᨿ (หเมิย), เขิน ᩉ᩠ᨾᩮᩨ᩠ᨿ (หเมืย), ไทลื้อ ᦵᦖᧀ (เหฺมิย), ไทใต้คง ᥛᥨᥭᥴ (โม๋ย), อาหม 𑜉𑜤𑜐𑜫 (มุญ์)
คำนาม
[แก้ไข]မူၺ် • (มูญ)
คำพ้องความ
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]เทียบจีนยุคกลาง 瓢 (MC bjiew, “กระบวยน้ำเต้า”); ร่วมเชื้อสายกับไทย กระบวย, ลาว ບວຍ (บวย) หรือ ກະບວຍ (กะบวย), ไทลื้อ ᦢᦽ (โบย), ไทใต้คง ᥛᥨᥭ (โมย), แสก โบ๋ย
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ถิ่นใต้) ဝူၺ် (วูญ)
คำนาม
[แก้ไข]မူၺ် • (มูญ)