ᦝᦴ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /fuː˥˩/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *wuːᴬ (“ลอย”), จากจีนยุคกลาง 浮 (MC bjuw); ร่วมเชื้อสายกับไทย ฟู, อีสาน ฟู, ลาว ຟູ (ฟู), คำเมือง ᨼᩪ (ฟู), เขิน ᨼᩪ (ฟู), ไทดำ ꪡꪴ (ฟุ), ไทขาว ꪡꪴ, ไทใหญ่ ၽူး (ผู๊) หรือ ၾူး (ฝู๊), อาหม 𑜇𑜥 (ผู), จ้วง fouz, ปู้อี fux
คำกริยา
[แก้ไข]ᦝᦴ (ฟู) (อักษรไทธรรม ᨼᩪ, คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦝᦴ)
ลูกคำ
[แก้ไข](ลอย):
- ᦀᦵᦜᧁᦵᦔᧁᦝᦴ (อเหฺลวเปวฟู)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ᦝᦴ (ฟู) (อักษรไทธรรม ᨼᩪ)
- (จีน) รอง, ผู้ช่วย, ผู้ทำการแทน
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อ
- คำกริยาภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- ไทลื้อ entries with incorrect language header
- คำอกรรมกริยาภาษาไทลื้อ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่ยืมมาจากภาษาจีนกลาง
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนกลาง
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- ภาษาไทลื้อแบบจีน