ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC dengH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เที่ยง, ภาษาคำเมือง ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง), ภาษาลาว ທ່ຽງ (ท่ย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦑᧂᧈ (เท่ง), ภาษาไทใหญ่ တဵင်ႈ (เต้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์), ภาษาจ้วงแบบหนง dingh หรือ dingq, ภาษาแสก เถี้ยง

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง)

  1. เที่ยง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ)

  1. เที่ยง, มั่นคง, ยุติธรรม, ซื่อสัตย์

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC dengH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เที่ยง, ภาษาเขิน ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง), ภาษาลาว ທ່ຽງ (ท่ย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦑᧂᧈ (เท่ง), ภาษาไทใหญ่ တဵင်ႈ (เต้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์), ภาษาจ้วงแบบหนง dingh หรือ dingq, ภาษาแสก เถี้ยง

คำนาม[แก้ไข]

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง)

  1. เที่ยง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ)

  1. เที่ยง, มั่นคง, ยุติธรรม, ซื่อสัตย์