ᨾᩢ᩠ᨠ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มลัก หรือ มัก, ภาษาอีสาน มัก, ภาษาลาว ມັກ (มัก), ภาษาคำเมือง ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก), ภาษาไทลื้อ ᦙᧅ (มัก), ภาษาไทดำ ꪣꪰꪀ (มัก), ภาษาไทขาว ꪝꪰꪀ, ภาษาไทใหญ่ မၵ်ႉ (มั๎ก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥐ (มัก)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨾᩢ᩠ᨠ หรือ ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾᩢ᩠ᨠ)

  1. (อกรรม, สกรรม) มัก, ชอบ, พอใจ, ถูกใจ

คำพ้องความ[แก้ไข]

ชอบ

อ้างอิง[แก้ไข]

  • ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) มัก

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มลัก หรือ มัก, ภาษาอีสาน มัก, ภาษาลาว ມັກ (มัก), ภาษาเขิน ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก), ภาษาไทลื้อ ᦙᧅ (มัก), ภาษาไทดำ ꪣꪰꪀ (มัก), ภาษาไทขาว ꪣꪰꪀ, ภาษาไทใหญ่ မၵ်ႉ (มั๎ก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥐ (มัก)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨾᩢ᩠ᨠ หรือ ᨣᩤᩴᨾᩢ᩠ᨠ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾᩢ᩠ᨠ)

  1. (อกรรม, สกรรม) มัก, ชอบ, พอใจ, ถูกใจ

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.