ꪁꪷ
หน้าตา
ภาษาไทดำ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɣɔːᴬ², จากภาษาไทดั้งเดิม *ɣoːᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 喉 (MC huw, “กล่องเสียง; ลำคอ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย คอ, ภาษาคำเมือง ᨤᩬᩴ (ฅอํ), ภาษาเขิน ᨤᩳ (ฅอ), ภาษาลาว ຄໍ (คํ), ภาษาไทใหญ่ ၶေႃး (ข๊อ̂), ภาษาไทใต้คง ᥑᥨᥝᥰ (โฃ๊ว), ภาษาพ่าเก ၵေႃ (ขอ̂), ภาษาอาหม 𑜁𑜦𑜡 (ขอ̂) หรือ 𑜁𑜞𑜦𑜡 (ขฺรอ̂), ภาษาจ้วง hoz, ภาษาแสก กฺ๊อ
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [kɔː˥]
- การแบ่งพยางค์: ꪁꪷ
- สัมผัส: -ɔː
คำนาม
[แก้ไข]ꪁꪷ (ก̱ํ)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทดำที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทดำที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทดำที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทดำที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทดำที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- ศัพท์ภาษาไทดำที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทดำที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาไทดำ/ɔː
- คำหลักภาษาไทดำ
- คำนามภาษาไทดำ