ข้ามไปเนื้อหา

𑜎𑜢𑜀𑜫

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาอาหม

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษามอญ လိက် (ลิก์), จากภาษาบาลี ลิขติ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᩃᩦ᩠ᨠ (ลีก), ภาษาไทลื้อ ᦟᦲᧅ (ลีก), ภาษาไทใหญ่ လိၵ်ႈ (ลิ้ก), ภาษาไทใต้คง ᥘᥤᥐ (ลีก)

คำนาม

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. ตัวหนังสือ, อักษร, อักขระ
  2. หนังสือ
  3. กระดาษ
คำพ้องความ
[แก้ไข]
หนังสือ
กระดาษ

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰlekᴰ¹ˢ, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlekᴰ, จากภาษาจีนเก่า (OC *l̥ʰiːɡ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เหล็ก, ภาษาลาว ເຫຼັກ (เหลัก), ภาษาไทใหญ่ လဵၵ်း (เล๊ก), ภาษาไทใต้คง ᥘᥥᥐᥱ (เล่ก)

คำนาม

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. เหล็ก
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. ยาเม็ด

รากศัพท์ 4

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หลีก, ภาษาอีสาน หลีก, ภาษาลาว ຫຼີກ (หลีก), ภาษาคำเมือง ᩉᩖᩦᨠ (หลีก), ภาษาเขิน ᩉᩖᩦᨠ (หลีก), ภาษาไทลื้อ ᦜᦲᧅᧈ (หฺลี่ก); เทียบภาษาไทใหญ่ လိၵ်ႇ (ลิ่ก)

คำกริยา

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. (สกรรม) หลีก

รากศัพท์ 5

[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนเก่า (OC *leːɡs, *leɡ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แลก, ภาษาลาว ແລກ (แลก), ภาษาไทใหญ่ လႅၵ်ႈ (แล้ก), ภาษาไทใต้คง ᥘᥦᥐ (แลก)

คำกริยา

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. (สกรรม) แลก

รากศัพท์ 6

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แหลก, ภาษาลาว ແຫຼກ (แหลก)

คำกริยา

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. (อกรรม) แหลก

รากศัพท์ 7

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอาหม เล็ก, ภาษาคำเมือง ᩃᩮᩢ᩠ᨠ (เลัก), ภาษาลาว ເລັກ (เลัก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦟᧅ (เลก), ภาษาไทใหญ่ လဵၵ်ႉ (เล๎ก)

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. เล็ก
  2. อ่อนวัย
คำพ้องความ
[แก้ไข]
เล็ก
อ่อนวัย

รากศัพท์ 8

[แก้ไข]

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

𑜎𑜢𑜀𑜫 (ลิก์)

  1. ซึ่งยังร้ายแรง