bya
หน้าตา
ภาษาจ้วง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (จ้วงมาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pʲa˨˦/
- เลขวรรณยุกต์: bya1
- การแบ่งพยางค์: bya
- คำอ่านภาษาไทย (ประมาณ): ปฺยาจัตวา
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *praːᴬ (“ภูเขาหิน”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ผา, ภาษาลาว ຜາ (ผา)
คำนาม
[แก้ไข]bya (อักขรวิธีปี 1957–1982 bya)
- ภูเขา
- bya sang
- ภูเขาสูง
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *plaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ปลา, ภาษาคำเมือง ᨸᩖᩣ (ปลา), ภาษาอีสาน ปา, ภาษาลาว ປາ (ปา), ภาษาไทลื้อ ᦔᦱ (ปา), ภาษาไทดำ ꪜꪱ (ปา), ภาษาไทใหญ่ ပႃ (ปา), ภาษาไทใต้คง ᥙᥣ (ปา), ภาษาอาหม 𑜆𑜠 (ปะ) หรือ 𑜆𑜡 (ปา), ภาษาปู้อี byal, ภาษาแสก ปร๋า
คำนาม
[แก้ไข]bya (อักขรวิธีปี 1957–1982 bya)
- ปลา
- haj duz bya
- ปลาห้าตัว
คำพ้องความ
[แก้ไข]ภาษาญี่ปุ่น
[แก้ไข]การถอดเป็นอักษรโรมัน
[แก้ไข]bya
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาจ้วงที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาจ้วงที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาจ้วงที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาจ้วงที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาจ้วง
- คำนามภาษาจ้วง
- terms without Sawndip formภาษาจ้วง
- ศัพท์ภาษาจ้วงที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/l
- รูปผันภาษาญี่ปุ่น
- การถอดเป็นอักษรโรมันภาษาญี่ปุ่น
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/m