ลักษณะ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต लक्षण (ลกฺษณ, “สิ่งชี้บอก, เครื่องหมาย”), จาก लक्ष् (ลกฺษฺ) + अन (อน); เทียบภาษาบาลี ลกฺขณ; เป็นศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาของ feature, quality, character, trait
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ลัก-สะ-หฺนะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lák-sà-nà |
ราชบัณฑิตยสภา | lak-sa-na | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lak̚˦˥.sa˨˩.naʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ลักษณะ (คำลักษณนาม ลักษณะ)
- (ทั่วไป, ภาษาหนังสือ) อีกรูปหนึ่งของ ลักษณ์ (“สมบัติเฉพาะตัว”)
- น้ำมีลักษณะเป็นของเหลว
- ลูกบิลเลียดมีลักษณะกลม
- ลูกเต๋ามีลักษณะเหลี่ยม
- คนไทยมีลักษณะอ่อนโยน
- ประเภท
- ใน 3 ลักษณะ
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสันสกฤต/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/m
- ศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ลักษณะ
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้