ลักษณ์
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ลักษณ
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต लक्षण (ลกฺษณ, “สิ่งชี้บอก, เครื่องหมาย”); เทียบภาษาบาลี ลกฺขณ; เป็นศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาของ feature (ทางภาษาศาสตร์)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ลัก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lák |
ราชบัณฑิตยสภา | lak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lak̚˦˥/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม
[แก้ไข]ลักษณ์
ลูกคำ
[แก้ไข]- กุมภลักษณ์
- เขตลักษณ์
- คชลักษณ์
- จุฬาลักษณ์
- ฉันทลักษณ์
- ฉายาลักษณ์
- ชีวลักษณ์
- ชุดลักษณ์
- ไตรลักษณ์
- ทรลักษณ์
- ทวิภาคลักษณ์
- ทวิลักษณ์
- ทัศนลักษณ์
- ทุรลักษณ์
- โทษลักษณ์
- นงลักษณ์
- นามลักษณ์
- บรรณลักษณ์
- ปฏิลักษณ์
- ปรลักษณ์ภาษา
- พหุลักษณ์
- พันธุลักษณ์
- พิมพลักษณ์
- ภาพลักษณ์
- ภูมิลักษณ์
- มลลักษณ์
- เยาวลักษณ์
- รูปลักษณ์
- ลายลักษณ์
- วจีลักษณ์
- วิลักษณ์
- ศศลักษณ์
- สถาปัตยลักษณ์
- สหลักษณ์
- สัญลักษณ์
- สัทลักษณ์
- สัทสัมพันธลักษณ์
- สากลลักษณ์
- สาทิสลักษณ์
- สาลักษณ์
- เสาวลักษณ์
- อปลักษณ์
- อรรถลักษณ์
- อักษรลักษณ์
- อัจฉริยลักษณ์
- อัตลักษณ์
- อัปลักษณ์
- อาลักษณ์
- อุปลักษณ์
- เอกลักษณ์
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์บัญญัติสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
- สัมผัส:ภาษาไทย/ak̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ