สาธุ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต साधु (สาธุ, “ดี; สำเร็จ”), จากภาษาบาลี สาธุ (“ดี; สำเร็จ”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สา-ทุ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎa-tú |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-thu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saː˩˩˦.tʰuʔ˦˥/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | สาทุ |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สาธุ
คำอุทาน
[แก้ไข]สาธุ
- คำที่พระสงฆ์เปล่งวาจาเพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทำไป
- คำที่คนทั่วไปเปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย
คำกริยา
[แก้ไข]สาธุ (คำอาการนาม การสาธุ)
- (ภาษาปาก) เปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย, มักใช้เข้าคู่กับคำ โมทนา เป็น โมทนาสาธุ
- (ภาษาปาก) ไหว้ (เป็นคำบอกให้เด็กแสดงความเคารพตามธรรมเนียม, กร่อนเสียง เป็น ธุ ก็มี)
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/uʔ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำอุทานภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l